ค่อยๆ สะสมนิสัยดีๆ แล้วคุณจะสร้างความสำเร็จครั้งใหญ่ได้ในอนาคต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ค่อยๆ สะสมนิสัยดีๆ แล้วคุณจะสร้างความสำเร็จครั้งใหญ่ได้ในอนาคต by Mind Map: ค่อยๆ สะสมนิสัยดีๆ แล้วคุณจะสร้างความสำเร็จครั้งใหญ่ได้ในอนาคต

1. ผู้เขียน

1.1. ดาร์เรน ฮาร์ดี้

1.1.1. อดีตหัวเรือใหญ่ของนิตยสาร SUCCESS นิตยสารด้านธุรกิจที่ตามติดชีวิตคนดังที่ประสบความสำเร็จ

1.1.2. ที่ปรึกษาให้กับบริษัทชั้นนำ

1.1.3. นักเขียนขายดีติดอันดับ New York Times

2. คนดังๆ พูดถึงหนังสือเล่มนี้กันอย่างไร?

2.1. ที ฮาร์ฟ เอคเคอร์

2.1.1. "หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้คุณเอาชนะคู่แข่ง ยืนเด่นเหนือความท้าทายใดๆ และสร้างชีวิตดีๆ ที่คุณต้องการ"

2.2. คีธ เฟอร์ราซซี

2.2.1. "ถ้าคุณคือผู้แสวงหาความสำเร็จ คุณต้องอ่านหนังสือเล่มนี้ มันเปรียบเหมือนคู่มือไปสู่ความสำเร็จสำหรับคุณ"

3. Compound Effect คืออะไร?

3.1. พลังจากการลงมือทำสิ่งเล็กๆ

3.1.1. The Compound Effect คือพลังของการพัฒนาตัวเองบนพื้นฐานความสามารถที่เพิ่มขึ้นทีละน้อยในทุกๆ วัน แต่ละวันที่คุณเก่งขึ้น คุณจะสามารถพัฒนาตัวเองด้วยวิธีที่ยากขึ้นทีละนิดได้ด้วย

3.1.2. Ex # เงิน

3.1.2.1. สมมติคุณต้องเลือกระหว่าง

3.1.2.1.1. เงิน 3 ล้านบาท 1 ก้อน

3.1.2.1.2. เงิน 1 สตางค์ แต่ทุกวันมันจะเพิ่มขึ้นเท่าตัว แล้วคุณต้องรอ 31 วัน

3.1.3. คุณต้องใช้เวลาและความอดทน

3.1.3.1. สมัยนี้เราชอบเสพติด "ความเร่งด่วน" โฆษณาพยายามทำให้เราคิดแบบนั้น

3.1.3.2. แต่นักกีฬาแชมป์โลก ถ้าไม่ซ้อมหนัก เขาคงไม่ได้แชมป์

3.1.3.2.1. Ex # คริสเตียโน โรนัลโด

3.2. Compound Effect สร้างได้ทั้งด้านดีและด้านลบ

3.2.1. ในแต่ละวัน เราทำสิ่งต่างๆ เยอะมาก จนเราอาจไม่ทันรู้ตัวว่าบางสิ่งที่ทำอาจส่งผลกับชีวิตได้มากกว่าที่เราคิด

3.2.2. ถ้าอยากรู้ความแตกต่าง ลองเปรียบเทียบการกระทำของชาย 2 คนนี้

3.2.2.1. ชายคนที่ 1 สก็อต

3.2.2.1.1. กินแอปเปิลวันละ 1 ลูก

3.2.2.2. ชายคนที่ 2 แบรด

3.2.2.2.1. ดื่มเบียร์วันละ 1 กระป๋อง

3.2.2.3. Q # ถ้าชาย 2 คนนี้มีพฤติกรรมการกินแบบนี้ไปเรื่อยๆ คุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น?

3.2.2.3.1. 1 เดือนผ่านไป

3.2.2.3.2. 6 เดือนผ่านไป

3.2.2.3.3. 12 เดือนผ่านไป

3.2.2.4. แค่การกระทำเล็กๆ อย่างกินแอปเปิลวันละ 1 ลูก กับดื่มเบียร์วันละ 1 กระป๋อง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ได้มากกว่าที่คุณคิด

3.3. สรุปสมการ Compound Effect

3.3.1. ทำสิ่งเล็กๆ ที่ดี

3.3.1.1. ความสม่ำเสมอ

3.3.1.1.1. เวลา

3.3.2. ประเด็นสำคัญของ Compound Effect คือ

3.3.2.1. เลือกทำสิ่งเล็กๆ ที่ดี

3.3.2.1.1. เพราะถ้าคุณทำสิ่งไม่ดี ผลลัพธ์ทางลบจะเกิดขึ้นเหมือนแบรด

3.3.2.2. ทำสม่ำเสมอ

3.3.2.2.1. คนเราทำแล้วชอบเลิกไปก่อนเพราะไม่เห็นผล หรือไม่ผลก็น้อยจนเรามองข้ามไป

3.3.2.3. เกิดผลกระทบต่อเนื่อง

3.3.2.3.1. ผลลัพธ์ที่คุณได้จะค่อยๆ ขยายตัวขึ้นจนกลายเป็นผลลัพธ์ยิ่งใหญ่ในเวลาต่อมา

4. Compound Effect เบื้องหลังความสำเร็จของคนดังระดับโลก

4.1. ดาร์เรนมีโอกาสสัมภาษณ์บุคคลที่ประสบความสำเร็จมาแล้วนับพันนับหมื่นคน

4.1.1. EX # ตัวอย่างคนดังระดับโลก

4.1.1.1. Richard Branson

4.1.1.2. Steve Jobs

4.1.1.3. Howard Schultz

4.1.1.4. Jack Welch

4.1.1.5. Mark Zuckerberg

4.1.1.6. Elon Musk

4.1.1.7. Jeff Bezos

4.2. เขาพบว่าเบื้องหลังความสำเร็จของทุกคนมีจุดหนึ่งที่เหมือนกันคือ Compound Effect

4.3. อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เรียก Compound Effect ว่า "สิ่งมหัศจรรย์อันดับที่ 8 ของโลก"

5. วิธีสร้าง Compound Effect ให้ตัวเอง

5.1. ตรวจสอบว่าสิ่งเล็กๆ ที่ทำนั้น "ดี" หรือยัง

5.1.1. สมการ Compound Effect บอกว่าขั้นตอนแรกสุดคือ เราต้องทำสิ่งเล็กๆ ที่ดี

5.1.1.1. Q # คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า "สิ่งเล็กๆ ที่ทำมันดีแล้ว?"

5.1.1.1.1. เรื่องนี้ยังไม่ยากเท่า คุณทำสิ่งเล็กๆ ที่ไม่ดีโดยไม่รู้ตัว

5.1.1.1.2. คำตอบก็คือ ใช้วิธี Tracking

5.1.2. 3 ขั้นตอนการใช้วิธี Tracking

5.1.2.1. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม

5.1.2.1.1. แนะนำ: สมุดจดบันทึก เลือกเล่มไม่ใหญ่นัก จะได้พกติดตัวหรือใส่กระเป๋าง่ายๆ + ปากกา, ดินสอ

5.1.2.1.2. คุณสามารถใช้แอพพลิเคชั่นอื่นๆ ตามสะดวกได้เช่นกัน

5.1.2.2. ทุกครั้งที่คุณลงมือทำสิ่งที่คุณอยากติดตาม ให้จดบันทึกทันที

5.1.2.2.1. Ex # ติดตามการใช้เงิน

5.1.2.2.2. จด ดีกว่า จำ

5.1.2.3. ทบทวนสิ่งที่คุณจด คุณอยากมีนิสัยแบบนี้ต่อไปหรือไม่? คุณอยากเปลี่ยนแปลงตัวเองหรือไม่?

5.1.2.3.1. Ex # พฤติกรรมการดื่มกาแฟ

5.1.2.4. การ Tracking ที่ดีควรทำ 3 อาทิตย์

5.1.2.4.1. นักจิตวิทยาบอกว่านิสัยจะไม่เกิดถ้าทำไม่ครบ 3 สัปดาห์

5.1.2.4.2. แค่ 1 สัปดาห์ คุณจะรู้สึกประหลาดใจกับผลลัพธ์ จนอยากจดต่อในสัปดาห์ที่ 2 แล้ว 3 เอง

5.1.3. ตัวอย่างการใช้ Tracking เปลี่ยนนิสัย

5.1.3.1. Ex # อดีตเลขาคนหนึ่งของดาร์เรน

5.1.3.1.1. แคธลีนอยากเก็บเงินให้ได้ 10% จากรายได้ในทุกเดือน

5.1.3.1.2. แต่เธอพบว่าตัวเองมีรายจ่ายเยอะมาก เธอเลยมาขอขึ้นเงินเดือนกับดาร์เรน

5.1.3.2. Ex # เพื่อนผู้บริหารคนหนึ่งของดาร์เรน

5.1.3.2.1. เขาอยากทำงานเก่งขึ้นและบริหารเวลาให้ดีขึ้น เลยมาขอคำปรึกษาดาร์เรน

5.1.3.2.2. ดาร์เรนขอให้เขา Tracking พฤติกรรม จนพบว่าเขาหมดเวลาในแต่ละวันกับการอ่านข่าวมากเกินไป

5.1.4. สรุปประโยชน์ของวิธี Tracking

5.1.4.1. เมื่อคุณเริ่มใช้การ Tracking คุณจะเริ่มกำจัดนิสัยแย่ๆ ออกไปจากตัวแล้วหันมาทำสิ่งที่ดีมากขึ้น

5.1.4.1.1. คราวนี้คุณก็แค่ลงมือทำมันเรื่อยๆ อย่างสม่ำเสมอ Compound Effect ก็จะเกิดขึ้นตามมา

5.1.4.2. "คุณไม่มีทางพัฒนาอะไรได้หรอก ถ้าไม่รู้จักวัดผลของมันบ้าง"

5.1.4.2.1. เมื่อคุณวัดผล คุณจะรู้ว่าตัวเองทำอะไรไปบ้างมากน้อยเท่าไหร่

5.1.4.2.2. คุณจะคิดตามได้ว่าสิ่งที่ทำดีหรือไม่ดี

5.2. ติดปีกให้ตัวเองด้วยการสร้างแรงผลักดัน

5.2.1. แรงผลักดัน (Momentum) คืออะไร

5.2.1.1. แรงผลักดัน (Momentum) คือช่วงจังหวะชีวิตที่คุณเครื่องร้อนเต็มที่และพร้อมเดินหน้าสู่ความสำเร็จ

5.2.1.1.1. มันเปรียบได้กับเวทย์มนต์หรือพลังลึกลับ เมื่อคุณได้แรงผลักดันมาครอบครอง ใครก็หยุดคุณยาก

5.2.1.2. EX # iPod

5.2.1.2.1. iPod เปิดตัวครั้งแรกในปี 2001 โดยยังไม่ได้รับความนิยม ผู้คนยังใช้ MP3 เป็นหลักกันอยู่เลย

5.2.1.2.2. ในที่สุด iPod ก็ดังเป็นพลุแตกในปี 2005 แล้วผลักให้พวกเขาครองส่วนแบ่งการตลาดเครื่องเล่นเพลง MP3 ไปถึง 70%

5.2.1.3. Ex # ไมเคิล เฟลปส์

5.2.1.3.1. เฟลป์ฝึกฝนว่ายน้ำมาตั้งแต่เด็ก โค้ชของเขาเข้มงวดกับการฝึกซ้อมมาก

5.2.1.3.2. เฟลป์ค่อยๆ สร้างผลงานและชื่อเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ เขาคว้าเหรียญทองได้มากขึ้น

5.2.2. กฏ 3 ข้อเพื่อสร้างแรงผลักดัน

5.2.2.1. อดทนทำต่อแม้จะยังไม่เห็นผลลัพธ์ก็ตาม

5.2.2.1.1. ถ้าคุณออกกำลังกายวันละ 15 นาที คุณไม่มีทางลดน้ำหนักได้ใน 7 วัน

5.2.2.1.2. สิ่งสำคัญคือสิ่งที่ทำต้องสอดคล้องกับเป้าหมายของคุณ

5.2.2.2. ลงมือทำซ้ำๆ จนเกิดเป็นกิจวัตร (Routine)

5.2.2.2.1. ถ้าคุณมีกิจวัตร คุณจะไม่เปลืองสมองไปกับการทำบางเรื่อง เพราะคุณทำไปเองโดยอัตโนมัติตามกิจวัตรหรือนิสัยนั้นๆ

5.2.2.2.2. คราวนี้คุณก็มีพลังเหลือพอไปทำสิ่งอื่นเพิ่มเติมได้

5.2.2.3. ลงมือทำให้สม่ำเสมอ (Consistency) ในเวลาที่นานพอ

5.2.2.3.1. นึกถึงนิทานกระต่ายกับเต่า

5.2.2.3.2. จำง่ายๆ ว่า

5.2.2.4. กุญแจสำคัญคือ ลงมือทำซ้ำๆ ให้สม่ำเสมอ ดังนั้นการลงมือทำทุกวันสม่ำเสมอ ดีกว่าทำเยอะแล้วหยุด

5.2.2.4.1. Ex # ฉันอยากฟิตร่างกาย อยากหุ่นดี

5.2.2.4.2. Ex # นักกีฬา

5.3. รู้จัก "เลือก" สิ่งที่จะมีอิทธิพลต่อคุณ

5.3.1. คุณรู้แล้วว่า การทำสิ่งเล็กๆ ที่ดีอย่างสม่ำเสมอจะทำให้เกิด Compound Effect กับตัวเอง

5.3.1.1. สิ่งสำคัญคือ คุณต้องรู้ว่าสิ่งเล็กๆ ที่ทำนั้นดีหรือไม่ดี และทำไปโดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว

5.3.1.2. แต่ปัจจัยภายนอกก็มีอิทธิพลต่อเรา มันส่งผลต่อสิ่งเล็กๆ ที่เราทำและบางครั้งเราอาจถูกมันครอบงำโดยไม่รู้ตัว

5.3.2. รู้จักอิทธิพลทั้ง 3 ชนิด

5.3.2.1. ข้อมูล

5.3.2.1.1. เราเสพข้อมูลข่าวสารอะไร เราก็มักจะความคิดและอารมณ์แบบนั้น

5.3.2.1.2. เทคนิคแนะนำ

5.3.2.2. ความสัมพันธ์

5.3.2.2.1. ตัวเราจะเป็นค่าเฉลี่ยของคน 5 คนที่เราใช้เวลาด้วยมากที่สุด

5.3.2.2.2. รู้จักเลือก "คนที่ฉันอยากใช้เวลาด้วย"

5.3.2.3. สภาพแวดล้อม

5.3.2.3.1. สภาพแวดล้อมรอบตัวที่ดีจะช่วยส่งเสริมให้คุณมุ่งหน้าทำตามเป้าหมายได้

5.3.2.3.2. Ex # ที่ทำงาน

6. แนวคิดในหนังสือเล่มนี้จะช่วยเราสร้าง Productivity ได้อย่างไร?

6.1. หนังสือเล่มนี้เล่าเบื้องหลังความสำเร็จของคนดังระดับโลกที่มีต้นกำเนิดมาจาก "นิสัยเล็กๆ"

6.2. ถ้าเราสร้างนิสัยเล็กๆ ให้ตัวเอง แล้วค่อยๆ ทำอย่างสม่ำเสมอจนสร้างแรงผลักดันให้ชีวิตได้เมื่อไหร่ เราจะสร้างความสำเร็จให้ชีวิตได้

6.3. เราสามารถใช้แนวคิดในหนังสือสำหรับสร้างนิสัยดีๆ ในการทำงาน แล้วค่อยๆ ต่อยอดออกไปเป็นนิสัยดีๆ ในด้านอื่นๆ ได้ด้วย