
1. ประเภทของพันธกิจภาษา
1.1. 1. ภาษาช่วยธำรงสังคม
1.1.1. ช่วยให้สังคมคงอยู่เพราะว่า
1.1.1.1. 1. มีไมตรีต่อกัน เช่น การ ทักทาย การยิ้มให้กัน 🌟
1.1.1.2. 2. มนุษย์ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สังคม เช่น กฎระเบียบของโรงเรียน 🌟
1.1.1.3. 3. ประพฤติตนเหมาะสมแก่ ฐานะของตน 🌟
1.2. 2. ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล
1.2.1. ปัจเจกบุคคล หมายถึง ลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล รวมถึง อุปนิสัย อารมณ์ รสนิยม สติปัญญา ความคิด ทรรศนะ ภาษาของแต่ละคนที่ แสดงออกจะสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของความเป็นปัจเจกบุคคล
1.2.1.1. 💜 คนหนึ่งอาจพูดว่า ฉันเหนื่อยเหลือเกิน ฉันไม่เดินต่อไปอีกแล้ว (ยึดตัวเองเป็นที่ตั้ง)
1.2.1.2. 💜 อีกคนหนึ่งอาจพูดว่า เหนื่อย ได้ยินไหม เหนื่อยจะตายอยู่แล้ว ยังจะให้เดินต่อไปอีก (ชอบตำหนิผู้อื่น)
1.2.1.3. 💜 อีกคนหนึ่งอาจพูดว่า เหนื่อยจัง หยุดพักกันก่อนเถอะ (ชอบชักชวนหรือเสนอแนะ)
1.3. 3. ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา
1.3.1. ภาษาทำให้คนเก่งขึ้น ฉลาดขึ้น (พัฒนา) ได้โดยถ่ายทอดออกมาเป็นตัวอักษร
1.4. 4. ภาษาช่วยกำหนดอนาคต
1.4.1. การวางแผน 📝
1.4.1.1. “นักเรียนวางแผนอ่านหนังสือสอบเข้ามหาวิทยาลัย”📚
1.4.2. การทำสัญญา
1.4.2.1. "แม่ทำสัญญากู้ยืม" 💰
1.4.3. การพิพากษา
1.4.3.1. “ศาลตัดสินพิพากษาจำคุก 1ปี”
1.4.4. การพยากรณ์
1.4.4.1. “กรมอุตุนิยมวิทยาบอกว่าพรุ่งนี้จะมีพายุเข้าจังหวัดสกลนคร” 🌧️
1.5. 5. ภาษาช่วยจรรโลงใจ
1.5.1. จรรโลงใจ หมายถึง ค้ำจุนจิตใจไว้ให้มั่นคง ใช้ได้กับทั้งสิ่งที่เป็นนามธรรม และรูปธรรม การจรรโลงใจจึงหมายถึงการค้ำจุนจิตใจให้เบิกบานมั่นคง ไม่ตกไป ข้างอำนาจฝ่ายต่ำ เช่น
1.5.1.1. การร้องเพลง 🎤
1.5.1.2. การพูดให้ขบขัน 🗣️
2. ข้อสังเกตอิทธิพลของภาษาต่อมนุษย์
2.1. มนุษย์ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของภาษา เพราะมนุษย์ไม่ได้มองว่าภาษาเป็นเพียงสัญลักษณ์ของการสื่อสารเท่านั้น เช่น
2.1.1. คำที่เป็นมงคล
2.1.1.1. ยม=นิยม
2.1.1.2. หนุน=เกื้อหนุน
2.1.1.3. เรือง=รุ่งเรือง
2.1.2. คำที่ไม่เป็นมงคล
2.1.2.1. บ๊วย=ที่สุดท้าย
2.1.2.2. แห้ว=ผิดหวัง
2.1.2.3. ลั่นทม=ทุกข์ระทม
2.1.2.4. ระกำ=ความทุกข์