ลักษณะของภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ลักษณะของภาษาไทย by Mind Map: ลักษณะของภาษาไทย

1. วิธีการพิจารณาความหมายของคำจากบริบท

1.1. ๑.พิจารณาจากคำที่ปรากฏร่วมกัน

1.2. ๒.พิจารณาจากหน้าที่ของคำ

1.3. ๓.พิจารณาความหมายของคำจากคำที่ปรากฏร่วมกัน

1.4. ๔.พิจารณาจากเจตนาของผู้พูด

2. ภาษาวรรณยุกต์

2.1. ภาษาไทยผันวรรณยุกต์ได้ ๕ เสียง การที่ภาษาไทยผันไล่เสียงได้นี้ ทำให้มีคำใช้มากขึ้นนอกจากนี้ยังทำให้คำไทยมีความไพเราะการใช้เสียงวรรณยุกต์เน้น ช่วยเน้นยํ้าความรู้สึกต่างๆ

3. เสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์เป็นหน่วยภาษา

3.1. แบ่งเป็น ๓ หน่วย

3.1.1. หน่วยเสียงสระ

3.1.1.1. มี ๒๑ หน่วยเสียง เป็นสระเดี่ยว ๑๘ เสียง สระสั้น ๙ เสียง สระยาว ๙ เสียง สระประสม ๓ เสียง

3.1.2. หน่วยเสียงพยัญชนะ

3.1.3. หน่วยเสียงวรรณยุกต์

3.1.3.1. มี ๒๑ เสียง มี ๔๔ รูป

3.1.3.2. มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงจัตวา

4. การไม่เปลี่ยนแปลงรูปคำ

4.1. คำในภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อนำไปใช้ในประโยค เพื่อแสดงความสัมพันธ์กับคำอื่นในประโยค และไม่ต้องเปลี่ยนรูปคำ

5. การวางคำขยายไว้ข้างหลังคำหลัก

5.1. คำขยายในภาษาไทยจะวางไว้ข้างหลังคำหลักหรือคำที่ถูกขยายเสมอ

6. ๑. คำนาม (คำหลัก) + คำขยาย ๒. คำกริยา (คำหลัก) + คำขยาย

6.1. มี ๒ ชนิด

6.1.1. ๑) คำที่ทำหน้าที่ขยายนาม

6.1.2. ๒) คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา

7. การลงเสียงหนัก-เบาของคำสองพยางค์ขึ้น มีดังนี้ ๑.ถ้าเป็นคำสองพยางค์ จะลงเสียงหนักที่พยางค์ที่สอง ๒.ถ้าเป็นคำสามพยางค์ ลงเสียงหนักที่พยางค์ที่สาม และพยางค์ที่หนึ่ง ๓. ถ้าเป็นคำสี่พยางค์ขึ้นไป ลงเสียงหนักที่พยางค์สุดท้าย

8. ลักษณะพิเศษของคำไทย

8.1. ๑.มีคำลักษณะนาม

8.2. ๒.มีคำซ้ำ คำซ้อน

8.3. ๓.มีคำบอกท่าทีของผู้พูด

8.4. ๔.มีคำบอกสถานภาพของผู้พูดกับผู้ฟัง

9. ตัวอย่างเช่น

9.1. ก.เขาเป็นญาติกับตุ้ม ข.ตุ้มเป็นญาติกับเขา

10. ภาษาคำโดด

10.1. คำโดดคือภาษาที่อุดมไปด้วยคำพยางค์เดียว ต่อมามีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศจึงมีคำหลายพยางค์ จนในที่สุดก็สร้างคำขึ้นใช้เอง

11. การเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม

11.1. ภาษาไทยเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม ประโยค ทั่วๆไปในภาษาสามัญ จะมีการเรียงคำดังนี้ นาม กริยา นาม *เน้นผู้รับสาร*

12. การลงเสียงหนักเบาของคำ

12.1. ภาษาไทยมีการลงเสียงหนัก-เบาของคำ การลงเสียงหนัก เบาของคำในภาษาไทย

13. การลงเสียงหนัก-เบา

13.1. ๑.คำที่ทำหน้าที่เป็น ประธาน กริยา กรรม หรือคำขยาย จะออกเสียงหนัก เช่น น้องพูดเก่งมาก (ออกเสียงเน้นหนักทุกพยางค์)

13.2. ๒.ถ้าเป็นคำเชื่อมจะไม่เน้นเสียงหนัก เช่น น้องพูดเก่งกว่าพี่ (ออกเสียงเน้นหนักทุกพยางค์ แต่ไม่ออกเสียงเน้นคำ กว่า)

13.3. ๓.คำที่ประกอบด้วยสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์อย่างเดียวกัน ออกเสียงหนัก-เบา ต่างกันแล้ว