บทที่ 2 การประเมิน คัดกรอง และส่งต่อมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 2 การประเมิน คัดกรอง และส่งต่อมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ by Mind Map: บทที่ 2 การประเมิน คัดกรอง และส่งต่อมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ

1. ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทั้งจากการปรับตัวหรือการดูแลตัวเองที่ไม่เหมาะสม

2. การประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์

2.1. Classifying from

2.1.1. หากมีความเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง **ส่งพบแพทย์ตรวจวินิจฉัยภาวะเสี่ยง

2.1.2. หากไม่พบความเสี่ยง **ให้ตรวจและนัดฝากครรภ์ตามเกณ์

2.1.3. แบบประเมิน

2.2. Coopland risk scoring

2.2.1. 0-2 คะแนน เสี่ยงน้อย 3-6 คะแนน เสี่ยงสูง 7 คะแนน เสี่ยงสูงมาก

2.2.2. แบบประเมิน

2.3. การประเมินความเสี่ยงสูงที่เกิดการคลอดก่อนกำหนด

2.3.1. GA 26-28 wk. 0-5 คะแนน เสี่ยงต่ำ 6-9 คะแนน เสี่ยงปานกลาง 10 คะแนนขึ้นไป เสี่ยงสูง

2.3.2. แบบประเมิน

2.4. การคัดกรองความเสี่ยงสูงต่อโรคทางอายุรกรรม

2.4.1. กลุ่มเสี่ยงต่ำ อายุน้อยกว่า 25 ปี น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ ประวัติการตั้งครรภ์ก่อนปกติ ไม่พบความผิดปกติในการตรวจน้ำตาล ไม่พบผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวสายตรง

2.4.2. กลุ่มเสี่ยงปานกลาง คือกลุ่มไม่เข้าเกณฑ์เสี่ยงต่ำและสูง

2.4.3. กลุ่มเสี่ยงสูง ความอ้วน อายุมากกว่า 35 ปี มีน้ำหนักเกินก่อนตั้งครรภ์ มีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ เคยคลอดบุตร BW > 4000 gm. เคยคลอดเด็กเสียชีวิตในครรภ์

3. วิธีประเมินคัดกรอง

3.1. ซักประวัติ : ประวัติส่วนตัว ประวัติครอบครัว ประวัติในอดีต ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด

3.2. ตรวจร่างกาย : ตรวจร่างกายตามระบบ ตรวจครรภ์ โดยการดู การคลำ การฟัง

3.3. ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ/ตรวจพิเศษ : ตรวจความเข้มข้นของเลือด คัดกรองธาลัสซิเมีย หมู่เลือด ไวรัสตับอักเสพ ซิฟิลิส เอดส์ และตรวจ U/S

4. บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง

4.1. ระยะเริ่มแรก

4.1.1. แนะนำฝากครรภ์ก่อน GA 12 wk.

4.1.2. วินิจฉัยการตั้งครรภ์ GA , EDC

4.1.3. ประเมินภาวะเสี่ยง ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและรักษา

4.1.4. แนะนำการปฏิบัติตัว และสังเกต อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์

4.1.5. หากความเสี่ยงสูง ควรประเมินสภาพทางด้านอารมณ์จิตใจ และความต้องการของหญิงตั้งครรภ์แครอบครัว

4.2. การดูแลต่อเนื่อง

4.2.1. การนัดตรวจอย่างสม่ำเสมอ

4.2.2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและการรักษา

4.2.3. ส่งเสริมภาวะสุขภาพและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดทั้งต่อมารดาและทารก

4.2.4. เตรียมความพร้อมสำหรับหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวสำหรับการคลอดและการปฏิบัติตัวหลังคลอด

4.2.5. ติดตามผลการตรวจพิเศษ เช่น Ultrasound, Non-stress test, Contraction stress test, amniocentesis GCT, OGTT เป็นต้น

4.3. ให้การพยาบาลเพื่อลดความเครียด ความวิตกกังวล

4.3.1. วิเคราะห์ภาวะเครียดของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว

4.3.2. ประเมินการปรับตัวจากปัจจัย 4 ประการคือ การรับรู้ที่ถูกต้อง การได้รับการสนับสนุนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาที่ถูกต้อง และความสามารถในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่มีภาวะเสี่ยง

4.3.3. เปิดโอกาสให้แสดงความรู้สึก ซักถาม มีส่วนร่วม

4.3.4. ประสานงานด้านค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นทั้งจากการตรวจพิเศษหรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ

4.3.5. ให้ความรู้และเหตุผลที่ชัดเจนในการให้การพยาบาลและยอมรับการตัดสินใจของหญิงตั้งครรภ์หากปฏิเสธหรือยอมรับการตั้งครรภ์

4.3.6. อธิบายภาวะเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และผลของการตั้งครรภ์ ขั้นตอนการดูแลรักษาทั้งระยะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอดรวมถึงการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง