การบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย by Mind Map: การบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย

1. เพิ่มเติมจากงานวิจัยThe factors facilitating and inhibiting effective clinical decision-making in nursing: a qualitative study

1.1. สรุปความได้ว่าปัจจัยที่ส่งเสริมและขัดขวางในการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ มีอยู่ 5 main หลักคือ1.การรู้สึกว่ามีความสามารถ 2.มีความมั่นใจในตนเอง 3.โครงสร้างในองค์กรมีความพร้อมในการตัดสินใจแก้ไข 4.การศึกษาด้านการพยาบาล 5.เเละการสนับสนุนขององค์กร จะเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ

2. อุปสรรคของการตัดสินใจ

2.1. ปัจจัยภายในบุคคล

2.2. ปัจจัยภายนอกบุคคล

2.3. ที่มา ความสามารถในการตัดสินในในด้านการบริหารงานของหัวหน้าเวร จากมหาวิทยาลัยบูรพา

3. 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Operational Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงานประจ าในหน้าที่ของตน เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายหรือเป้าหมายขององค์กร โดยใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

4. 1.เผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด (Trigger) 2.การประเมินสถานการณ์ (Appraisal) 3.การวินิจฉัยตรวจสอบอย่างละเอียด (Exploration) 4.พัฒนามุมมองที่แตกต่างไปจากเดิม (Development of Alternative Perspectives) 5 บูรณาการวิธีคิดและพฤติกรรมใหม่ (Integration)

5. 1.รูปแบบเส้นตรง เช่น การสื่อสารของผู้มีอำนาจสั่งการลงมา 2.รูปแบบวงล้อ 3.รูปแบบวงกลม สื่อสารให้รู้ทั่วไป 4.รูปแบบทุกช่องทาง สามารถติดต่อได้ทุกมิติ

6. การเจรจาต่อรอง

6.1. รูปแบบการเจรจาต่อรองมีอะไรบ้าง

6.1.1. ลักษณะความร่วมมือ

6.1.2. ลักษณะการแข่งขัน

6.2. กระบวนการในการเจรจาต่อรองเป็นอย่างไร

6.2.1. ขั้นเตรียมการเจรจา

6.2.2. ขั้นดำเนินการเจรจา

6.2.3. ขั้นบังคับใช้ผลของการเจรจาให้ปฏิบัติได้จริง

6.3. หัวหน้าหอผู้ป่วยจะนำการเจรจาต่อรองมาใช้ในกรณีใดบ้าง

6.3.1. จัดสรรทรัพยากร งบประมาณ

6.3.2. ความขัดแย้ง

6.3.2.1. วิจัย: ประสบการณ์: หัวเรื่อง: การเจรจาต่อรองและหัวเรื่อง: การจัดการความสามารถขัดแย้ง เพื่อลดความสามารถขัดแย้ง ในห้างหุ้นส่วนจำกัดระบบผู้ซื้อสินค้าหัวเรื่อง: การให้บริการสุขภาพและสาธารณสุข ที่มา: อโนทัยผลิตนนท์เกียรติ (2562) ประสบการณ์: การเอาชนะต่อรองและการจัดการ ความเสียหาย ในระบบการให้บริการสุขภาพและการสาธารณสุข วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6 (3), 158-164

6.3.2.1.1. การเจรจาต่อรองในระบบการให้บริการสุขภาพและสาธารณสุขเป็นวิธีการหนึ่งของทางเลือกในการระงับความขัดแย้งแทนการฟ้องร้อง โดยคู่กรณีจะได้รับการช่วยเหลือจากบุคคลที่สาม ซึ่งเป็นคนกลางที่ได้รับการฝึกฝนและมีทักษะประสบการณ์ คนกลางจะช่วยให้คู่กรณีสื่อสารกันโดยไม่เปิดเผยต่อบุคคลภายนอก ช่วยฟื้นความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และเกิดการเจรจาต่อรองกันเอง (Negotiation) จนเกิดข้อตกลงที่ต่างฝ่ายต่างพึงพอใจ โดยไม่ถูกบังคับ

6.3.2.1.2. 1. เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหลักการที่ต้องการ 2. เสียผลประโยชน์ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 3. ทําให้อีกทุกฝ่ายรู้สึกพึงพอใจกับผลการเจรจา

6.3.3. การรักษาผลประโยชน์

6.4. คุณลักษณะของการเจรจาต่อรองที่ดีมีอะไรบ้าง

6.4.1. ยึดสาระในหลักธรรม

6.4.2. มีบุคลิกภาพดี

6.4.3. มีความคิดสร้างสรรค์

6.4.4. เลือกใช้ภาษาที่เหมาะสม

6.5. หลักการในการเจรจาต่อรอง

6.5.1. หลักการการเจรจาต่อรอง ที่สําคัญ 3 ประการ

7. การตัดสินใจ

7.1. องค์ประกอบ

7.2. รูปแบบ

7.3. หัวหน้าวอร์ดควรมีแนวทางอย่างไรในการตัดสินใจเพื่อขจัดความขัดแย้ง

7.4. ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการตัดสินใจ

7.5. ลักษณะของการตัดสินใจทางการบริหาร

7.5.1. 2. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ (Management Decision) เป็นการตัดสินใจเพื่อการจัดสรร ทรัพยากรขององค์กรให้แก่ฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้สามารถปฏิบัติหรือด าเนินการได้ตามนโยบาย หรือ วัตถุประสงค์ ที่ผู้บริหารสูงสุดได้ก าหนดไว้

7.5.2. 1. การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย (Policy Decision) เป็นการตัดสินใจเพื่อก าหนดแนวทางในการ ปฏิบัติงานอย่างกว้าง ๆ ที่จะบอกถึงวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ขององค์กรว่าจะต้องการท าอะไร เพื่อให้ได้อะไร เพื่อให้ผู้ร่วมงานทราบทิศทางหรือจุดหมายปลายทางที่จะต้องด าเนินการให้สอดคล้องกัน

8. การสื่อสาร

8.1. องค์ประกอบ

8.2. ประโยชน์

8.2.1. 1. ช่วยลดความเสี่ยงให้น้อยลงต่อปัญหาที่เกิดขึ้น 2. ช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. ช่วยในการเตรียมการสำหรับงานที่จะทำ 4. ช่วยให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจมีการยั้งคิดหรือพิจารณาถึงเหตุผล 5. ช่วยให้งานสามารถดำเนินไปได้ไม่ล่าช้า

8.3. รูปแบบ

8.4. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพของหัวหน้าหอผู้ป่วย

8.4.1. องค์ประกอบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

8.4.1.1. ทักษะในการฟัง

8.4.1.2. ทักษะการรับข้อมูลข่าวสารที่ปราศจากอคติ

8.4.1.3. ทักษะการให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน

8.4.2. ทักษะการสื่อสารแบบเปิด

8.4.3. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ (Effective Communication) หมายถึงกระบวนการส่งหรือถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารเพื่อให้เกิดสภาวะที่เป็นอิสระหรือปราศจากภัยคุกคามไม่มีอันตรายและการสูญเสียรวมถึงไม่มีความเสี่ยงใด ๆ เกิดขึ้นจากรายงานของ The Joint Commission พบว่าการปรับปรุงการสื่อสารในทีมสุขภาพทำให้คุณภาพด้านความปลอดภัยและผลลัพธ์คุณภาพการดูแลผู้ป่วยดีขึ้นจำนวนวันนอนโรงพยาบาลลดลงผลความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติดีขึ้นดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรภายในองค์กรต้องมีความรู้ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในทีมสหสาขาวิชาชีพ (multidisciplinary teamwork) ให้เกิดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านคุณภาพการพยาบาลและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยด้านความปลอดภัย

9. การจูงใจ motivation

9.1. กระบวนการจูงใจ

9.1.1. กระบวนการจูงใจ(Motivation Process) จะเริ่มต้นจากความต้องการที่ยังไม่ได้รับการ ตอบสนองจนทำให้เกิดความตึงเครียด แล้วจะเร้าให้เกิดแรงขับในตัวบุคคลแรงขับเหล่านี้จะ แสวงหาพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการ

9.1.2. Critical thinking

9.1.2.1. ขั้นตอน

9.1.2.2. ช่วยสืบค้นความจริง ช่วยให้สังเกตถึงความแตกต่าง ช่วยค้นหาความ ถูกต้อง ช่วยให้ตัดสินตามข้อเท็จจริงไม่ใช่ตามอารมณ์ความรู้สึก ช่วยให้เกิดการพัฒนาและพิจารณาอย่าง ครบถ้วนและเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดสร้างสรรค์

9.1.2.3. มีความสำคัญกับการบริหารงานในหอผู้ป่วยอย่างไรนำมาบริหารงานในหอผู้ป่วยอย่างไร

9.1.2.3.1. ช่วยในการทำวิจัย ประสิทธิภาพในการดูแผู้ป่วย การบริหารคน

9.1.2.3.2. ช่วยในการวางแผนการพยาบาล

9.1.2.3.3. ช่วยในการพัฒนาคุณภาพของพยาบาล และการปฏิบัติงาน โดยผ่านการบูรณาการ

9.2. ประเภทของการจูงใจมีกี่ประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันอย่างไร และสามารถนำมาปรับใช้อย่างใช้อย่างไร

9.2.1. 2. การจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) เป็นการใช้แรงจูงใจที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลเอง เช่น ความต้องการชื่อเสียง ความต้องการอ านาจ ซึ่งมีผลให้บุคคลแสดงพฤติกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการนั้น

9.2.1.1. แรงจูงใจภายในเป็นความต้องการของบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมต่างๆที่เกิดจาก การเสาะแสวงหาของตนเอง โดยความต้องการมีความสามารถ ความต้องการลิขิตด้วยตนเองและปัจจัยภายในงาน เช่น ความท้าทายน่าสนใจของงานเป็นแรงผลักดัน ไม่ต้องอาศัยรางวัลภายนอกหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ ความท้าทาย ความรับผิดชอบและความแปลกใหม่ จะทำให้คนมีพฤติกรรมที่ถูกจูงใจภายใน นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยหลายเรื่องต่างยืนยันว่าแรงจูงใจภายในส่งผลทางบวกต่อผลลัพธ์การทำงาน เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ประสิทธิผลในการทำงาน ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันในงาน และคุณภาพชีวิตการทำงาน(แรงจูงใจในการทำงาน : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Work Motivation: Theory and Application :วารสาร มจรอุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2563))

9.2.2. 1. การจูงใจจากภายนอก (Extrinsic motivation) เป็นการจูงใจโดยใช้สิ่งเร้าจากภายนอก เช่น การให้ผลตอบแทน รางวัล เงินเดือน เพื่อบุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง

9.2.2.1. ปัจจัย 5 อันดับแรก ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ พนักงานกลุ่ม Generation Y คือ 1) ค่าตอบแทน 2) การปรับเงินเดือนประจำปีตามผลการปฏิบัติ งาน 3) การส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ 4) ความสมดุลในชีวิตทำงานและส่วนตัว และ 5) ลักษณะงานที่มีความท้าทาย การจูงใจ โดยการจัดสวัสดิการ ด้านการศึกษาต่อในระดับสูง การฝึกอบรม และ ผลตอบแทนที่จูงใจจะเป็นปัจจัยสำคัญที่บุคลากร ให้ความสนใจ รวมทั้งการบริหารจัดการที่ให้ พนักงานมีอำนาจในการตัดสินใจด้วยตนเอง มากขึ้น เพื่อเพิ่มพฤติกรรมที่ดี และลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (อ้างอิงจากวารสารเกื้อการุณย์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 เรื่อง ลักษณะการบริหารพยาบาลวิชาชีพ Generation Y )

10. ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการประสานงานและมีวิธีการแก้ไขอย่างไร

11. ประโยชน์ของการประสานงานที่ดีมีอะไรบ้าง

12. ประสานงานกับอาจารย์ประจำหอผู้ป่วย ในการจัดการฝึกภาคปฏิบัติให้สอดคล้องกับทฤษฎี

13. ข้อดี ความขัดแย้งอาจจะช่วยปรับปรุงหรือทำให้เกิดผลเสียกับผลการปฏิบัติงานขององค์กรได้

14. 4.ความร่วมมือ(collaborating) เป็นการแสดงพฤติกรรมในระดับสูง และความร่วมมือในระดับสูง มุ่งเอาชนะในขณะเดียวกันก็ให้ความร้วมมือกันอย่างเต็มที่ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง

15. 5.การปรองดอง (accommodating) เป็นการแสดงพฤติกรรมในระดับต่ำแต่แสดงความร่วมมือในระดับสูง เป็นพฤติกรรมที่ขาดการยืนยัน ความต้องการของตนเอง แต่ทำให้อีกฝ่ายพยายามพึงพอใจ

16. หัวหน้าวอร์ดควรมีทักษะใดบ้างในแต่ละวอร์ด

16.1. ทักษะโน้มน้าวใจ

16.2. ทักษะการสื่อสาร

16.3. มีความเชียวชาญในการปฏิบัติงานในแต่ละวอร์ดนั้นๆ

16.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

16.5. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

16.6. ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหา

17. คุณสมบัติของหัวหน้าวอร์ด

17.1. คุณสมบัติของหัวหน้าวอร์ดมีอะไรบ้าง

17.1.1. มีความรู้

17.1.2. มีภาวะเป็นผู้นำ

17.1.3. 1.การกระตุ้นความขัดแย้ง

17.1.4. ทักษะการการปัญหา

17.1.5. มีวัยวุฒิ

17.1.6. มีปฏิสัมพันธ์

17.1.6.1. เปิดโอกาสให้คุณผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าถึงง่ายมีความสามารถยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ตามเหตุผลมีความสามารถรับผิดชอบสูงสุดสูง มีเหตุผลใช้ Thailand ข้อมูลในห้างหุ้นส่วนจำกัดหัวเรื่อง: การตัดสินใจระบุ DIV วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีหัวเรื่อง: การกำหนดบทบาทหน้าที่ความสามารถรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละระดับได้ชัดเจนผู้นำที่ประสบความสามารถสำเร็จ มี ลักษณะสำคัญคือคุณต้องมีความสามารถมั่นคงทางอารมณ์มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีเป็นของคุณคนมองโลกในห้างหุ้นส่วนจำกัดแง่ดี มีความสามารถรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ตนปฏิบัติ (อ้างอิงจากวารสารเกื้อการุณย์ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 เรื่อง ลักษณะหัวเรื่อง: การบริหารพยาบาลความ รุ่น Generation Y)

17.1.7. มีความคิดริเริ่ม

17.1.8. มีการวางแผนตลอดเวลา

18. บทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการประสานงาน

18.1. การประสานงานที่ดีควรเป็นอย่างไร

18.2. การติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงาน เป็นอย่างไร ต้องติดต่อกับใครบ้าง มีกระบวนการอย่างไร

18.2.1. ประสานกับทีมสหวิชาชีพ

18.2.2. ประสานงานกับผู้บริหารชั้นสูง

18.2.3. ขั้นตอนการประสานงานที่มีประสิทธิภาพในหอผู้ป่วยควรเป็นอย่างไร

19. การจัดการความขัดแย้ง

19.1. วิธีการบริหารความขัดแย้ง

19.1.1. 1.การกระตุ้นความขัดแย้ง

19.1.1.1. การส่งเสริมการแข่งขัน

19.1.1.2. การเลือกผู้บริหารที่เหมาะสม

19.1.1.3. การใช้บุคคลภายนอก

19.1.1.4. การจัดโครงสร้างขององค์การใหม่

19.1.2. 2.การลดหรือระงับความขัดแย้ง

19.1.3. 3.การยุติความขัดแย้ง

19.1.3.1. วิธีการยุติความขัดแย้ง อาจใช้อานาจและการระงับ การประนีประนอม และการแก้ปัญหาร่วมมือ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่ต้องดำเนินการ

19.2. กระบวนการจัดการกับความขัดเเย้ง

19.2.1. ลักษณะการขัดแย้ง

19.3. รูปแบบของความขัดแย้ง

19.4. 1. ความขัดแย้งภายในบุคคล 2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล 3. ความขัดแย้งระหว่างบุคคลและกลุ่ม 4.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มภายในองค์การเดียวกัน 5. ความขัดแย้งระหว่างองค์การ

19.5. ข้อดีของความขัดแย้ง และหัวหน้าผู้ป่วยนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

19.5.1. 1.สร้างอุปนิสัยช่างสังเกต 2.สร้างอุปนิสัยเป็นนักคิด 3.มีประสบการณ์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อมอย่างพอเพียง 4.มองโลกในแง่ดี 5.รับรู้ในความแตกต่างกันของมนุษย์

19.5.2. ข้อเสีย

19.5.3. งานวิจัย การวิเคราะห์ความขัดแย้งและการจัดการระหว่างพยาบาลวิชาชีพ ในระบบการับผู้ป่วยในโรงพยาบาล A วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

19.6. สาเหตุของความขัดแย้งในหอผู้ป่วย

19.6.1. เกิดจากการไม่เห็นต้องพ้องกัน

19.6.2. ความแตกต่างของค่านิยมของผู้บริหารงานในวอร์ด

19.6.3. ความต้องการทรัพยากรที่จำกัด

19.6.4. ความแตกต่างของเป้าหมาย ระหว่างแผนกงานขององค์การ

19.7. รูปแบบความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงานเป็นความขัดแย้งในด้านเนื้อหางานที่ปฎิบัติและความรู้สึก ด้านอารมณ์ โดยมีระดับของความขัดแย้งในระดับเริ่มปรากฏมากที่สุดและสาเหตุมาจากสถาการณ์ ด้านโครงสร้างขององค์กร ด้านบุคค พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่ ใช้วิธีการแบบประนีประนอมในแก้ไขปัญหามากที่สุด

19.8. วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง (สุขภาพภาควารสารประชาชน ภาคอีสาน เรื่องความสามารถขัดแย้งและหัวเรื่อง: การจัดการกับความสามารถของพยาบาลความขัดแย้งวิชาชีพ โรงพยาบาลความที่คุณพระสมเด็จยุพราชสว่างคุณดินคุณแดนจังหวัดสกลนคร)

19.8.1. 1. การเดินทางเลี่ยง (หลีกเลี่ยง) การ แสดงพฤติกรรมในระดับต่ำสุดและความสนุกสนานในระดับต่ำสุดที่ ไม่น่าสนใจ

19.8.2. 2. การแข่งขัน (การแข่งขัน) การแข่งขันระดับมืออาชีพในระดับสูงและความสัมพันธ์ในระดับต่ำสุด ที่มีความสนใจ

19.8.3. 3. การประนีประนอม (compromision) เป็นการแสดงออกของพฤติกรรมในห้างหุ้นส่วนจำกัดระดับกลาง เป็นการต่อรองให้ทั้ง 2 ฝ่ายมีความพอใจ

20. การแก้ปัญหา

20.1. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบการค้นหาสาเหตุของปัญหาและเสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหานั้นๆๆโดยใช้วิธีการค้นหารูปแบบต่างๆ เช่น 5W1H, SWOT Analysis

20.2. ระบุปัญหา

20.3. ขั้นตอนการแก้ปัญหา

20.3.1. การวิเคราะห์และค้นหาสาเหตุของปัญหา

20.3.1.1. การค้นหาแนวทางในการแก้ปัญหา

20.3.2. การกำหนดวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหา

20.3.3. การเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด

20.3.4. การดำเนินการแก้ปัญหา

20.3.5. การประเมินผลการดำเนินงาน

20.4. ความหมาย

20.4.1. กระบวนการที่มีความซับซ้อนน้อยกว่ากระบวนการตัดสินใจ และเน้นที่การขจัดสาเหตุของปัญหาให้หมดไป ส่วนการตัดสินใจไม่จาเป็นต้องรอให้เกิดปัญหาจึงจะตัดสินใจได้ ซึ่งการแก้ปัญหาในแต่ละสถานการณ์หรือการตัดสินใจที่จะเลือกกระทาอะไรนั้นมักมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน

20.5. ทักษะการแก้ปัญหาที่ดีประกอบด้วยอะไรบ้าง

20.5.1. ทักษะในการหาข้อมูล

20.5.1.1. สมรรถนะเชิงพฤติกรรม ที่เกิดจากความอยากรู้อยากเห็น ความปรารถนาที่จะมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ หรือเกี่ยวกับคน หรือเกี่ยวกับประเด็นปัญหา ซึ่ง ความรู้นั้นจะต้องลึกซึ้งกว่าการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นประจำวันในหน้าที่การ งาน และจะต้องเจาะลึกหรือเค้นเอาข้อมูลที่แท้จริง

20.5.2. ทักษะในการคิดเชิงวิเคราะห์

20.5.2.1. การทำความเข้าใจในสถานการณ์ด้วยการแยกส่วนประกอบต่าง ๆ ออกมาเป็นส่วน ๆ หรือการพยายามค้นหาร่องรอยของผลกระทบจากสถานการณ์หนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รวมถึงการเรียบเรียงที่มาของปัญหา หรือสถานการณ์อย่างมีระบบ

20.5.3. ทักษะการคิดเชิงหลักการ

20.5.3.1. สมรรถนะพฤติกรรมในการวิเคราะห์ปัญหาภายใต้สถานการณ์หนึ่ง ซึ่งจะสามารถบ่งบอกถึงรูปแบบของการเกิดปัญหา หรือการเชื่อมโยงระหว่างสถานการณ์กับปัญหา โดยปัญหานั้นจะต้องเป็นปัญหาที่สลับซับซ้อน สมรรถนะนี้ยังรวมไปถึงการใช้เหตุผลที่สร้างสรรค์มีหลักการ และสามารถสร้างอิทธิพลในการชักนำอีกด้วย

20.6. ข้อพึงระวังก่อนที่คิดหาแนวทางการแก้ไขปัญหา

20.6.1. 1. สถานการณ์ก่อนเกิดปัญหาเป็นอย่างไร 2. สถานการณ์ในขณะที่เป็นปัญหาเป็นอย่างไร 3. สถานการณ์ที่เจ้าของปัญหาต้องการให้เกิดเป็นอย่างไร เพื่อจะได้เห็นช่องว่างของความแตกต่างของสถานการณ์และจะได้ค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหา เพื่อทาการขจัดปัญหาให้หมดไป

21. creative thinking

21.1. พื้นฐานสำคัญของความคิดสร้างสรรค์