Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Hepatitis by Mind Map: Hepatitis

1. Hepatitis A Virus (HAV)

1.1. เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด RNA. ติดต่อได้ทาง feacal – oral transmission (การกินอาหารหรือดื่มน้ำไม่สะอาด) ไม่ค่อยติดต่อทางเลือด

1.2. สามารถตรวจพบเชื้อในอุจจาระได้ 2 สัปดาห์ ก่อนแสดงอาการ และหลังจากตา ตัวเหลือง 1 สัปดาห์

1.3. เวลาฟักตัว 15 – 50 วัน ติดต่อได้ในช่วงครึ่งหลังของการมีในระยะฟักตัว จนถึง 2 – 3 วัน หลังจากตัวเหลือง

2. Hepatitis B Virus (HBV)

2.1. เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด DNA. ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน

2.2. ติดต่อได้ทางเลือด หรือ serum เช่น การฉีดยา การถ่ายเลือด การสัมผัสกับ secretion หรือ สิ่งคัดหลั่งต่างๆ (น้ำมูก น้ำลาย) เพศสัมพันธ์ (อสุจิ)

2.3. ไม่พบเชื้อนี้ใน gastric content, bile, faces เพราะเชื้อถูกทำลายได้ด้วย intestinal mucosal enzyme

3. Hepatitis C Virus

3.1. NAnB เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด อาการไม่รุนแรง ตรวจ serum ไม่พบ Anti HAV และ HBs Ag มีโอกาสเกิด Chronic Hepatitis และ cirrhosis ติดต่อได้ทั้งการรับประทานอาหารทางเลือด และ serum

3.2. ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย และถ้ารุนแรงมากจะทำให้เกิดภาวะตับวายได้ ดังนั้นการพยาบาลที่สำคัญได้แก่ สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนเต็มที่ งดการทำกิจกรรมใดๆ ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด

4. โรคไข้หวัดใหญ่ (Human influensa)

4.1. สาเหตุ ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C A แหล่งเชื้อโรค คือ นกน้ำตามธรรมชาติ ระยะฟักตัวของโรค 1- 4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่

4.2. Signs and Symptoms of Flu

4.2.1. Fever* or feeling feverish/chills Cough Sore throat Runny or stuffy nose Muscle or body aches Headaches Fatigue (very tired)

4.3. การแพร่กระจายเชื้อโรค

4.3.1. การกระจายสู่คนทางละอองฝอย สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ปนเปื้อน เช่นน้ำมูกและน้ำลายและเสมหะของผู้ป่วย

4.4. การวินิจฉัย

4.4.1. ตรวจสารคัดหลั่งภายใน 72 ชั่วโมง การตรวจหา RNA ของ Virus ด้วย RT-PCR (Reverse transcriptase –polymerase chain reaction) การตรวจน้ำเหลืองหา Antibody โดยเจาะห่าง 2 สัปดาห์ Antibody จะเพิ่มขึ้น 4 เท่า ตรวจหาแอนติเจน DIA (direct immunofluorescent antibody) IFA (direct immunofluorescent antibody)

4.5. การรักษา

4.5.1. ให้ยาต้าน Antiviral teatment - ให้ภายใน 48 ชั่วโมงแรกของอาการป่วย - ให้ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง ได้แก่ โรคหัวใจ ปอด หอบหืด ตั้งครรภ์ไตรมาส 2,3 HIV เด็กอายุครบน้อยกว่า 2 ปี เมตาบอลิกเรื้อรัง ได้รับการรักษาด้วย Aspirin

4.5.1.1. ยาต้านมี 2 กลุ่ม กลุ่ม 1 amantadine และ Rimantadin ยับยั้งการแบ่งตัวของ cell ชนิด A อาการไม่พึงประสงค์ อาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทและทางเดินอาหาร กลุ่ม 2 Neuraminidase inhibitor - Oseltamivia (Tamiflu) ผลข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน - Zanamivia (Relenza) พ่นทางปาก ผลข้างเคียง หลอดลมตีบ

4.6. การพยาบาล

4.6.1. พักผ่อนมากๆ และอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ลดไข้ผู้ป่วย การล้างมือ กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ำมากๆ ปิดจมูก ปาก เวลาไอหรือจาม และบ้วนน้ำลายลงในภาชนะที่ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว จนกว่าจะหายเป็นปกติ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก

5. โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ( Severe Acute Respiratory Syndrome :SARS)

5.1. สาเหตุ เกิดจาก เชื้อไวรัสโคโรนา coronavirus (SARS-CoV) ระยะฟักตัวของโรค จะใช้เวลาประมาณ 2 ถึง 7 วัน โดยทั่วไปมักไม่เกิน 10 วัน การติดต่อ สัมผัสกับผู้ป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น น้ำลาย น้ำมูก

5.1.1. ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดศีรษะมาก หนาวสั่น อาการเจ็บคอ ไอแห้ง ๆ ปอดบวมอักเสบ อาการหายใจลำบาก

6. Covid-19

6.1. ฟักตัว 2_14วัน

6.2. Droplet ,อุจจาระ,การขยี้ตา

6.3. 37.5

6.4. ไข้

6.5. ไอ

6.6. น้ำมูก

6.7. เจ็บคอ

6.8. หายใจลำบาก

6.9. การรักษา

6.9.1. แนะนำให้นอนรพ.

6.9.2. รักษาตามอาการ

6.10. การจำหน่าย

6.10.1. มีอาการดีขึ้นและผลถ่ายรังสีปอดไม่แย่ลง

6.10.2. อุณหภูมิ <37.5 นาน48 ชม.

6.10.3. อัตราการหายใจ>20\นาที

6.10.4. O2 sat room air >95%

7. สาเหตุ

7.1. เกิดจากการเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ การบาดเจ็บที่ตับ ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับ

8. พยาธิ

8.1. 1. Prodomal Stage : 3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง อาการสำคัญคือเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ อาจมีปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือกดเจ็บ ในระยะท้ายๆ มีปัสสาวะสีโคล่า เนื่องจากมี birirubin สูง และอุจจาระซีด ใน HAV มีอาการรุนแรงน้อยกว่า HBV

8.2. 2. Icteric Stage : ระยะตา ตัวเหลืองนาน 1 – 4 สัปดาห์ อาการต่างๆ ในระยะแรกจะหายไป แต่มีอาการตัว ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต

8.3. 3. Recovery Period : ระยะพักฟื้น ใช้เวลา 3 – 4 เดือน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น และหายเป็นปกติ ใช้เวลา 6 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้นอาจมีภาวะแทรกซ้อน

9. โรคไวรัสอีโบร่า (Ebola virus disease)

9.1. เชื้อประจำถิ่นแถบประเทศ Africa โรคไวรัสอีโบลาจัดอยู่ในสกุล  Ebolavirus

9.2. การแพร่กระจายเชื้อ

9.2.1. การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง

9.2.2. การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน

9.3. ปวดหัว,ไข้,คลื่นไส้อาเจียน,มีผื่น,อ่อนเพลีย,ท้องเสีย

9.4. การวินิจฉัย

9.4.1. การตรวจหาอาร์เอ็นเอไวรัสโดยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส(PCR) และการตรวจหาโปรตีนโดยวิธีอีไลซา (ELISA) 

9.5. การรักษา

9.5.1. รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ  การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม

9.6. การป้องกัน

9.6.1. กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน (ให้ความร้อน 60 °C เป็นเวลา 30 ถึง 60 นาที หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที แยกผู้ป่วย และการสวมเสื้อผ้าป้องกัน ได้แก่ หน้ากาก ถุงมือ กาวน์และแว่นตา ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ 

10. เชื้อไข้หวัดนก ( Avian influenza)

10.1. ระยะฟักตัวในคนสั้น ประมาณ 1 ถึง 3 วัน

10.2. อาการ มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลียมีน้ำมูกไอและเจ็บคอบางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง

10.3. อาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรงถึงปอดบวมและเกิดระบบหายใจล้มเหลว (Acute espiratory Distress Syndrome)

10.4. การวินิจฉัยไข้หวัดนก

10.4.1. 1. มีไข้มากกว่า 38 องศา 2. มีอาการทางเดินระบบหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ และ 3. ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือสัมผัสกับคนป่วยภายใน 10 วันก่อนเกิดอาการ 4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5. การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง เช่นเสมหะ น้ำมูก 6. การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR influenza type A ให้ผลบวก

10.5. ยาที่ใช้ในการรักษาได้แก่ Oseltamivir [tamiflu] Zannamivir[Relenza] เป็นยาที่จะช่วยบรรเทาอาการของโรคแต่ต้องให้ยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ

11. MERS-CoV หรือ Middle East Respiratory Syndrome-Corona Virus 

11.1. มีระยะฟักตัวตั้งแต่ 2 – 14 วัน ดังนั้นหากผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ไอ หอบ หายใจเร็ว และภายใน 14 วันก่อนหน้ามีประวัติเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค 

11.2. 1.การให้ยาต้านไวรัส 2.การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ 3.การรักษาตามอาการ ให้ supplemental oxygen therapyโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ SpO2 < ร้อยละ 90 เริ่มโดย การจากให้อ็อกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที และปรับขนาดตามอาการของผปู้ ่วย จนระดับ SpO2 ≥ ร้อยละ 90 ในคนทั่วไป และ SpO2 ≥ ร้อยละ 92-95 ในหญิงตั้งครรภ์