การพยาบาลผู้ป่วยโรคเซลล์ผิวหนังอักเสบ (Cellulitis)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเซลล์ผิวหนังอักเสบ (Cellulitis) by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยโรคเซลล์ผิวหนังอักเสบ (Cellulitis)

1. หากเกิดโรคซ้ำๆอาจเกิดภาวะlymphatic obstruction เกิดlymphedema

2. โรคเท้าช้าง (elephantiasis verrucosa nostra)

3. อาการและอาการแสดง

3.1. กระดูกอักเสบติดเชื้อ (osteomyelitis)

3.2. U

3.3. O

3.3.1. ผิวหนังมีสีแดง บวม และร้อนเมื่อสัมผัส ขอบแผลไม่ชัดเจน ตาอมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงเจ็บและโต มีอาการไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลียน่วมด้วย มักจะเกิดที่ผิวหนังหรือเนท้อเยื่อชั้นลึกใต้ผิวหนังเเละอาจจะแพร่กระจายผ่านต่อมน้ำเหลืองได้เป็นการติดเชื้อที่ส่วนใดก็ได้ในร่างกายแต่ส่วนมากจะติดที่ขาข้างเดียว

4. อาการแทรกซ้อน

4.1. เกิดเนื้อตาย (necrosis)

4.2. เกิดหนอง (abscess formation)

4.3. การติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด (ulcer development bacteremia)

4.4. เกิดภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ (endocarditis)

5. การรักษา

6. การวินิจฉัยทางการพยาบาล

6.1. ไม่สุขสบายจากอาการปวดเนื่องจากน่องซ้ายมีการอักเสบติดเชื้อ

6.1.1. วัตถุประสงค์

6.1.1.1. เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบาย บรรเทาอาการปวดจากการบวมเเดง

6.1.2. กิจกกรรมทางการพยาบาล

6.1.2.1. จัดท่านอนให้ผู้ป่วยนอน ยกเท้าสูงกว่าระดับหัวใจ

6.1.2.2. ใช้ผ้าชุบน้ำเย็นประคบบริเวณที่ปวดเเละบวม

6.1.2.3. ดูแลให้ได้รับยา Paracetamol 500 mg 1 tab oral prn q 4-6 hrs

6.1.2.4. ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ Vancomycin 500 mg i.v. q 6 hrs

6.1.2.5. ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำ 5% D/NSS 1000 ml i.v. drip 80 mL/hrs

6.1.2.6. เเนะนำให้ผู้ป่วยตรวจสุขภาพประจำทุกปี

6.1.3. เกณฑ์การพยาบาล

6.1.3.1. ประเมินสภาพความรู้สึกเจ็บปวด

6.1.3.2. เพื่อลดการอักเสบที่บริเวณน่องซ้าย

6.2. มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายเนื่องจากมีการอักเสบของน่องซ้าย

6.2.1. วัตถุประสงค์

6.2.1.1. เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย

6.2.1.2. เเนะนำเเนวทางในการนอนหลับ

6.2.2. กิจกกรรมทางการพยาบาล

6.2.2.1. ให้ยาลดไข้

6.2.2.2. เช็ดตัวลดไข้ เพื่อเพิ่มการระบายความร้อนโดยการนำความร้อนเเละลดอุณภูมิร่างกาย

6.2.2.3. ไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.5 - 37.5 องศาเซลเซียส

6.2.2.4. แนะนำการออกกำลังกายอย่างมีประสิทธภาพ

6.2.2.5. ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนมากๆ

6.2.2.6. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยดื่มน้ำให้เพียงพอ 2-3 ลิตร/วัน

6.2.2.7. เเนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆวันละ 2,000-3,000 มิลลิลิตร

6.2.2.8. ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง

6.2.3. เกณฑ์การประเมิน

6.2.3.1. ผู้ป่วยบอกว่า "สุขสบายขึ้น"

6.3. พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว

6.3.1. วัตถุประสงค์

6.3.1.1. ได้รับความรู้ความเข้าใจตลอดจนสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง

6.3.1.2. ส่งเสริมให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

6.3.2. กิจกรรมทางการพยาบาล

6.3.2.1. แนะนำพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ปรุงรสไม่จัดจ้านอย่างต่อเนื่อง

6.3.2.2. แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงหรือคอเลสเตอรอลสูง

6.3.2.3. แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาการให้ตรงเวลา

6.3.2.4. เเนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง

6.3.2.5. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยงดดื่มสุรา

6.3.3. เกณฑ์การประเมิน

6.3.3.1. สามารถตอบคำถาม และแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมได้อย่างถูกต้อง

6.3.3.2. ปฏิบัติตามคำแนะนำ เช่น นับประทานอาหารตรงตามเวลา และผู้ป่วยหลับได้ต่อเนื่อง 6-8 ชั่วโมง เป็นต้น

7. C

8. นาย ก. เพศชาย อายุ 50 ปี อาชีพทำนา สิทธิการรักษาบัตรทอง

8.1. อาการสำคัญ : มีไข้ น่องซ้ายบวมแดง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล การเจ็บป่วยปัจจุบัน : 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการปวดน่องซ้าย สังเกตมีอาการแดง

9. พยาธิสรีรวิทยา

9.1. เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล หรือแมลงสัตว์กัดต่อย แบคทีเรีย Streptococcus เข้าไปถึงชั้นหนังแท้ ( Dermis ) และอาจลามเข้าไปถึงชั้นไขมัน ( Subcutaneous ) และปล่อยเอนไซม์ที่เป็นพิษออกมาทำลายเนื้อเยื่อ จนเกิดอาการอักเสบ

10. คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยและครอบครัวก่อนกลับบ้าน

10.1. กินยาต่างๆที่แพทย์สั่งให้ครบถ้วน ไม่หยุดยาเอง

10.2. หยุดใช้งานอวัยวะหรือบริเวณที่มีการติดเชื้อ

10.3. ป้องกันมิให้เกิดบาดแผลไม่แกะหรือเกาผิวหนัง

10.4. ยกส่วนที่เป็นโรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสูงไว้ ช่วยเรื่องการไหลเวียนของเลือดทำให้หายเร็วขึ้น

10.5. หมั่นขยับข้อต่อที่อยู่ใกล้กับบริเวณที่เกิดอาการ

10.6. ควรทำสะอาดบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาดทุกวันโดยใช้ผ้าพันแผลหรือพลาสเตอร์สะอาดปิดแผลไว้

10.7. เฝ้าระวังการติดเชื้อถ้าหากผิวหนังบริเวณที่มีการติดเชื้อดูแย่ลงมีอาการร่วมอื่นๆที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น มีไข้ อ่อนเพลียมาก เบื่ออาหาร อาเจียน ควรพบแพทย์