การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ by Mind Map: การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ

1. 3.แนวทางการพิจารณาเนื้อหาก่อนเผยแพร่ข้อมูล

1.1. ความเป็นส่วนตัว

1.1.1. ต้องเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลว่าข้อมูลนั้นเกี่ยวกับใครหรือองค์กรใด สามารถเปิดเผยต่อผู้อื่นได้หรือไม่ ภายใต้เงื่อนไขใดและด้วยมาตรการป้องกันอย่างไร

1.2. ความถูกต้อง

1.2.1. ข้อมูลที่ใช้้หรือนำเสนอต้องมีความถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือ และต้องรับผิดชอบต่อความผิดพลาดของข้อมูล ดังนั้นต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนที่จะนำไปใช้หรือเผยแพร่

1.3. ทรัพย์สินหรือความเป็นเจ้าของ

1.4. การเข้าถึง

1.4.1. เป็นการกำหนดหรือระบุให้บุคคลหรือองค์กรใดมีสิทธิ์หรือสิทธิพิเศษในการเข้าถึงหรือได้รับ

2. 4.การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน

2.1. การใส่ชื่อ

2.2. การระบุสัญลักษณ์

2.3. การใส่ลายน้ำ

2.4. ระบุเงื่อนไขการอนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้งานได้

3. 5. มารยาทในการติดต่อสื่อสาร

3.1. มารยาทในการใช้อีเมล

3.1.1. ใช้ภาษาสุภาพ ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะสมกับกาละเทศะหรือผู้ที่จะสื่อสารด้วย

3.1.2. ใช้ตัวอักษรหนาเฉพาะตัวที่จะเน้นเท่านั้น

3.1.3. ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย และระบุตัวตนของผู้ส่งอีเมลให้ชัดเจน

3.1.4. ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่จะสื่อสารให้ถูกต้องและเหมาะสม

3.1.5. ไม่ใช้ข้อความกำกวม แสดงการตำหนิ ดูถูก ใส่ร้ายผู้อื่น

3.1.6. หลีกเลี่ยงการส่งอีเมลและการแนบไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ ให้ใช้การส่งลิงก์หรือโปรแกรมในการโอนถ่ายไฟล์แทน

3.1.7. ไม่ลักลอบส่งอีเมลโดยการปลอมแปลงชื่อผู้ส่งที่ทำให้ผู้รับเข้าใจผิด

3.1.8. ไม่ส่งจดหมายลูกโซ่

3.1.9. ไม่ส่งอีเมลขายสินค้า โฆษณา หรือข้อความที่รบกวนผู้รับ

3.2. มารยาทในการใช้แชทและเครือข่ายสังคม

3.2.1. ไม่ใช้ข้อความที่ทำให้เกิดปัญหาระหว่างบุคคลและกลุ่ม

3.2.2. หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์

3.2.3. ไม่อ้างตนเป็นผู้อื่น

3.2.4. ไม่ใช้ถ้อยคำยยั่วยุหรือถ้าทาย

4. 3.การคุ้มครองมาตรการทางเทคโนโลยี

4.1. มาตรา53/4 การหลบเลี่ยงมาตการทางเทคโนโลยี

4.2. มาตรา53/5 เป็นข้อยกเว้นมาตการทางเทคโนโลยีโดยส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษาหรือวิจัย

5. 1.แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาไม่เหมาะสม

5.1. ปฏิเสธการรับข้อมูล

5.2. ไม่ส่งต่อ ไม่แชร์ ไม่เผยแพร่

5.3. แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็บไซต์นั้น

5.4. แจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ

6. 2.ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

6.1. ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่

6.1.1. จิตใจ

6.1.1.1. รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเองหรือรู้สึกเสียใจเมื่อผู้อื่นเลียนแบบพฤติกรรมเลียนแบบการกระทำไม่เหมาะสมของตนเอง โดยไม่ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน

6.1.2. สังคม

6.1.2.1. ถูกสังคมประณาม

6.1.3. กฏหมาย

6.1.3.1. ได้รับโทษเนื่องจากข้อมูลเหล่านี้อาจผิดระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือทำให้เสียเวลา และค่าใช้จ่ายจาการดำเนินคดีตามกฏหมาย

7. 6.พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์

7.1. 1.เพิ่มคำนิยามลงไป3คำได้แก่ข้อมูลของเจ้าของสิทธิ

7.1.1. มาตรการทางเทคโนโลยี

7.1.2. การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยี

7.2. 2.การคุ้มครองบริหารสิทธิ

7.2.1. มาตรา53/1 การลบหรือเปลี่ยนแปลงเป็นการละเมิดข้อมูลบริหารสิทธิ์เช่นการลบลายน้ำ

7.2.2. มาตรา53/2การลบหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์มาเผยแพร่หรือจำหน่ายเป็นการละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิ

7.2.3. มาตรา53/3สามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้าเกี่ยวข้องกับการมั่นคงของประเทศหรือสถาบันศึกษา

7.3. 4.ข้อจำกัดความรับผิดชอบผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ต

7.3.1. มาตรา32/2วรรคสอง ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตและผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ในกรณีที่มีหลักฐานว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการเจ้าของลิขสิทธิ์อาจยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อให้ผู้บริการระงับการละเมิดลิขสิทธิ์

7.4. 5.หลักการระงับใบซื้อสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา

7.4.1. มาตรา32/1 เช่น นาย ก.เป็นคนเขียนหนังสือ นาย ข.เป็นคนซื้อหนังสือ พอนาย ข. อ่านหนังสือจบแล้วรู้สึกเบื่อจึงขายต่อให้นาย ค. ไม่ผิดลิขสิทธิ์ แต่หากมีการนำหนังสือมาคัดลอกหรือดัดแปลงเพื่อทำการค้าขายถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์

7.5. 6.ข้อยกเลิกลิขสิทธิ์การทำซ้ำชั่วคราว

7.5.1. มาตรา32/2 ตัวอย่างเช่น เราซื้อ E-Book มาแล้วโหลดเก็บไว้ในเครื่องซึ่งถือเป็นการทำซ้ำ แต่ไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะได้ผ่านการซื้อโดยชอบธรรมมาแล้ว

7.6. 7.สิทธิทางศีลธรรมของนักแสดง

7.6.1. มาตรา51/1 กำหนดว่านักแสดงมีสิทธิ์ว่าตนเป็นนักแสดงในการแสดงของตน และมีสิทธิ์ห้ามให้ผู้ใดทำการกระทำใดต่อการแสดงนั้น และเมื่อนักแสดงถึงแก่ความตาย ทายาทของนักแสดงมีสิทธิ์ในการแสดงนั้นตลอดการคุ้มครองสิทธิ์ของนักแสดง

7.7. 8.การเพิ่มค่าเสียหายในเชิงลงโทษ

7.7.1. มาตรา64วรรค2 กำหนดให้ศาลมีอำนาจในการสั่งให้ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ต้องจ่ายค่าเสียหายไม่เกิน2เท่าของค่าเสียหายที่เกิดขึ้น

7.8. 9.การเพิ่มอำนาจศาล

7.8.1. มาตรา75 ได้เพิ่มอำนาจศาลในคดีอาญาให้มีอำนาจในการ ยึด สั่งไม่ให้ใช้ หรือสั่งทำลาย โดยให้ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์เป็นคนเสียค่าใช้จ่าย เพื่อให้ของสิ่งนั้นไม่มาหมุนเวียนในช่องทางพาณิชย์ได้อีก