การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิดศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิดศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 by Mind Map: การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิดศาสตร์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

1. บทที่ 1 บทนำ

1.1. วัตถุประสงค์

1.1.1. 1. เพื่อสำรวจสภาพปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศสตร์ค้นเนื้อหา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. เพื่อทดลองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4. เพื่อประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

1.2. ความลำคัญขอบการวิฉัยในการศึกษาวิจัย

1.2.1. ความลำคัญขอบการวิฉัยในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพ 2. เป็นแนวทางในการสร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในการที่จะลือกรูปแบบการสอนที่เหมาะสม 3. เป็นแนวทางสำหรับครูในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่น และระดับชั้นอื่นต่อไป

1.3. ขอบเขตของการวิจัย

1.3.1. ขอบเขตของการวิจัย ผู้วิจัยได้แบ่งการวิจัยออกเป็น 4 ชั้นตอน โดยกำหนดขอบเขตในแต่ละชั้นตอนออกเป็น 3 ด้านด้วยกันคือ ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ขอบเขตด้านตัวแปร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1.3.1.1. ขั้นตอนที่ 1 การสำรวจสภาพปัญหา

1.3.1.1.1. 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา

1.3.1.1.2. 2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

1.3.1.1.3. 3. ขอบเขตต้านตัวแปร

1.3.1.2. ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

1.3.1.2.1. 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา

1.3.1.2.2. 2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

1.3.1.2.3. 3. ขอบเขตด้านตัวแปร

1.3.1.3. ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

1.3.1.3.1. 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา

1.3.1.3.2. 2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

1.3.1.3.3. 3. ขอบเขตด้านตัวแปร

1.3.1.4. ขั้นตอนที่ 4 การประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

1.3.1.4.1. 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา

1.3.1.4.2. 2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

1.3.1.4.3. 3. ขอบเขตต้นตัวแปร

1.4. ข้อตกลงเบื้องต้น

1.4.1. กลุ่มตัวอย่างได้รับการแนะนำให้มีความรู้ในการใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะทำการทดลอง

1.5. นิยามศัพท์เฉพาะ

1.5.1. เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ผู้วิจัยขอกำหนดความหมายของคำศัพท์เฉพาะบางคำในการวิจัยครั้งนี้ ดังนี้ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง รายการสอนที่บรรจุเนื้อหาของบทเรียนไว้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่ผู้จัยพัฒนาขึ้น โดยมีโปรแกรมควบคุมการทำงานมีการแสดงผลทางจอภาพเป็นตัวอักษรภาษาไทย และกราฟฟิก สามารถแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนทราบได้โดยผ่านทางหนจอภาพ เป็นบทเรียนโปรแกรมแบบทบทวน (นtora) มีสีในรายวิชาคณิตศาสตร์ 2. วิธีสอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสอนที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคอมพิวเตอร์ที่ทำงานตามโปรแกรมทเรียนที่ถูกสร้งขึ้นโดยผู้จัยเอง โดยผู้วิจัยเป็นผู้ควบคุม ดูแล และแนะนำ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการสอบวัดผลทางการเรียนจากแบบทดสอบเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 4. เกณฑ์ 80/80 หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ของจำนวนที่คำตอบถูกของแบบฝึกหัดในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ของจำนวนคำตอบถูกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5. สภาพปัญหาการเรียนการสอนด้านเนื้อหาหมายถึงความยากในการดำเนินการสอนในแต่ละเนื้อหาวิชาในวิชาคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

2. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1. intro

2.1.1. ในการวิจัยรื่อง การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิดศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยไศึกษาเอกสงานวิจัยที่เกี่ยวช้อง โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. คณิตศาสตร์ 1.1 ความหมายของคณิตศาสตร์ 1.2 หลักการสอนคณิตศาสตร์ 2. คอมพิวตอร์ช่วยสอน 2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.3 ประโยชน์คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวตอร์ช่วยสอน 4. ทฤษฎีและหลักจิตวิทยาที่ใช้กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.2. 1. คณิตศาสตร์

2.2.1. 1.1 ความหมายของคณิตศาสตร์

2.2.1.1. ยุพิน พิพิธกุล (2523 : 1) กล่าวถึงวิชาคณิตศาสตร์ว่า คณิตศาสตร์มิได้หมายความเพียงตัวเลช สัญลักษณ์นั้น คณิตศาสตมีความหมายกว้างมาก ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1. คณิตศาสร์เป็นวิชที่กี่ยวกับการคิด รช้คณิศาสตพิสูนัอย่างมีเหตุผลว่า สิ่งที่เร คิดนั้น เป็นจริงหรือไม่ ด้วยวิชาการก็สามารถจะนำวิชาคณิตศาสตรีปปัญหาในทางวิทยาสุตร ทศในโลยี และฉุตสาหกรรมต่งๆ คณิตศาสตร์ช่วยให้คนเป็นผู้ที่มีเหตุมีผลเป็นคนไฝรู้ ตลอดจน พยายามคิดค้นสิ่งแปลกใหม่ 2 คณิตศาสตร์เป็นภาษาอย่างหนึ่ง คณิดศาสตร์มีภาษาฉพาะของตัวมันเอง เป็นภาษาที่ กำหนดขึ้นด้วยสัญลักษณ์ที่รัดกุม และสื่อความหมายได้ถูกต้อง เป็นภาษาที่มีตัวอักษร ตัวเลข และ สัญลักษณ์แทนความคิด ฉ คณิตศาสตเป็นโครงสร้งที่มีเหตุผล เราจะห็นว่คณิดศาสตร์นั้นจะเริ่มตันด้วยเรื่อง ง่ายๆ และอธิบายข้อคิดต่งๆ ที่สำคัญ A คณิตคำสตร์เนวิชที่มีแบแน เราจะเห็นวการคิดในทางคณิดศาสตร์นั้นจะต้องอยู่ ในแบบแผน และมีรูปแบบ น คณิตคำสตร์นศิดปะอย่งหนึ่ง ความงามของคณิตศาสตร์ ก็คือความมีระเบียบและ

2.2.2. 1.2 หลักการสอนคณิตศาสตร์

2.3. 2. คอมพิวตอร์ช่วยสอน

2.3.1. 2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.3.2. 2.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.3.3. 2.3 ประโยชน์คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.4. 3. การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวตอร์ช่วยสอน

2.5. 4. ทฤษฎีและหลักจิตวิทยาที่ใช้กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.6. 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

3. บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย

3.1. intro

3.1.1. การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการตามลัษณะของกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ ชั้นตอนที่ 1 การสำรวจสภาพปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขั้นตอนที่ 4 การประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.2. ขั้นนตอนที่ 1 การสำรวจสภาพปัญหา

3.2.1. intro

3.2.1.1. ในขั้นตอนการสำรวจสภาพปัญหา มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อสำรวจสภาพปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ค้นเนื้อหา ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ประชากร คือ ครูผู้สอนวิชคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึษาปีที่2 สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7 ปีการศึกษา 2540 จำนวน 307 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 7 ปีกาศึกษา 2540 จำนวน 117 คน ซึ่งได้มาจากการสุมอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ดังนี้ 1. สุ่มจังหวัดในเขตการศึกษา 7 มาร้อยละ 50 จาก 8 จังหวัด ได้ 4 จังหวัด 2. จากจังหวัดที่สุ่มได้ นำครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 117 คน

3.2.1.1.1. ตารางที่ 1 แสดงกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามโรงเรียนและครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3.2.2. เครื่องมือที่ใช่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.2.2.1. เครื่องมือที่ใช่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัญหาในการเรียนการสอนด้านเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3.2.3. วิธีดำเนินการสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.2.3.1. 1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรมัธยศึกษาตอนตันพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หนังสื่อเรียนที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นมัยมศึกษาปีที่ 2 2. สร้างแบบสอบถามสำรวจสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ด้านเนื้อหา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยสร้างเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ตัวเลือก 3. นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจแก้ใชภาษาสำนวนที่ใช้ และขอบเขตของเนื้อหาที่ว่าเที่ยงตรงและครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษาหรือไม่ 4. นำแบบสอบถามที่ได้ผ่านการพิจารณาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนย์มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่บกพร่องแล้วนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.2.4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.2.4.1. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยดำเนินการดังนี้ 1. ขอหนังสือแนะนำตัวจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อนำไปใช้ในการติดต่อโรงเรียนที่เลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2. ผู้วิจัยส่งแบบสอบถาม พร้อมทั้งหนังสือแนะนำตัวไปยังโรงเรียนที่ผู้วิจัยเลือกเป็นกลุ่ม ตัวอย่างทางไปรษณีย์ และผู้จัยเขียนชื่อ ที่อยู่ ของผู้วิจัยเองบนซองที่เตรียมไว้พร้อมทั้งติดวงตรา ไปรษณียากร เพื่อให้ได้แบบสอบถามที่ตอบเรียร้อยแล้วส่งกลับคืนให้ผู้วิจัยโดยตรง 3. ผู้วิจัยติดตาม แบบสอบถามที่ยังไม่ได้รับคืน หรือไม่สมบูรณ์ด้วยตัวเอง 4. ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามคืนทั้งสิ้น 97 ชุด คิดเป็นร้อยละ 82.90

3.2.5. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.2.5.1. ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามลำดับ ดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม และทำการคัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์เท่านั้น 2. นำแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยค่าความถี่ และร้อยละ ตอนที่ 2 ปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ กำหนดคะแนน ดังนี้ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ให้คะแนน 5 คะแนน ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ให้คะแนน 4 คะแนน ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ให้คะแนน 3 คะแนน ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย ให้คะแนน 2 คะแนน ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด ให้คะแนน 1 คะแนน

3.2.5.2. 3. นำข้อมูลจากการตรวจให้คะแนนของแบบสอบถามในตอนที่ 2 มาทำการริเคราะห์

3.2.5.2.1. Untitled

3.2.5.3. 4. นำค่าเฉลี่ยมาจัดอันดับว่ สภาพปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เนื้อหาใดอยู่ ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย หรือน้อยที่สุด โดยเปรียบเทียบตามเกณฑ์ดังนี้ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50 - 5.50 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50 - 4.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 - 3.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.50 - 2.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 - 1.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับน้อยที่สุด (ไชยยศ เรื่องสุวรรณ, 2534: 138)

3.3. ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.3.1. intro

3.3.1.1. ขั้นตอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยเนื้อหาที่จะมาพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้มาจากการสำรวจในขั้นตอนที่ 1 เรื่องสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)

3.3.2. แหล่งข้อมูล

3.3.2.1. 1. ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์จำนวน 4 ท่าน 2. ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวน 3 ท่าน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวังกะพี้พิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2541 จำนวน 9 คน

3.3.3. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคันคว้า

3.3.3.1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

3.3.4. การดำเนินการสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้า

3.3.4.1. 1. ศึกษาแบบสอบถามการวิจัยสำรวจสภาพปัญหาในชั้นตอนที่ 1 เพื่อระบุเนื้อหาที่จะนำมาสร้าง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. ศึกษาหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตัน พุทธศักราช 2521 ฉบับปรับปรุง พศ. 2533) คู่มือครูหนังสือเรียน และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งศึกษาเทคนิค วิธีการสร้างบทเรียนโปรแกรม 3. กำหนดจุดประสงคค์การเรียนรู้ เพื่อกำหนดขอบเขตเนื้อหาแต่ละตอนในการเรียนจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 4. ออกแบบเนื้อหาความรู้ที่จะนำมาสร้งเป็นโปรแกรมคอมหิวเตอร์ช่วยสอน โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบของบทเรียนโปรแกรม 5. นำบทเรียนโปรแกรมที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อขอคำแนะนำแก้ไขส่วนที่ยังบกพร่อง และนำมาปรับปรุงแก้ใข 6. นำบทเรียนโปรแกรมที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว พร้อมทั้งแบบประเมินบทเรียนโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอผู้เชียวชาญค้านการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 4 ท่าน เพื่อทำการประเมินบทเรียนโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ว่ามีเนื้อหาครอบคลุมตามจุดประสด์การเรียนรู้หรือไม่ (รายชื่อผู้เชี่ยวชาญดังแสดงในภาคผนวก ก) 7. นำแบบประเมินบทเรียนโปรแกรมจากผู้เชี่ยวชาญ ประเมินความหมาะสมของบทเรียนโปรแกรม โดยหาค่ดัชนี่ความสอดคล้อง (IOC) และพิจรณาความเหมาะสมของค่ IOC ที่มีค่าตั้งแต่ .50 ขึ้นไป 8. นำบทเรียนโปรแกมมาปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง 9. ศึกษาเทศนิค วิธีเขียนโปแกรม เครื่องมือที่จะช่วยพัฒนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรม Micosoft Visual Basie Vesion 5.0 ในการเซียนโปรแกรม 10. ดำเนินการสร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อเสนอเนื้อหาแต่ละกรอบบนจอคอมพิวเตอร์ 11. นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น เสนอต่ออาจรย์ที่ปรึษาวิทยานิพนธ์ เพื่อขอคำแนะนำแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง และนำมาปรับปรุงแก้ไข

3.3.4.2. 12. นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว พร้อมทั้งแบบประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอผู้เชี่ยวชาญด้านนการพัฒนาโปรแกรมคอมฟิวเตอร์ช่วยสอน จำนวน 3 ท่าน เพื่อทำการประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนว่ามีเทคนิค กระบวนการเหมาะสมหรือไม่ 13. นำแบบประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยหาค่าดัชนี่ความสอดคล้อง (IOC) และพิจารณาความเหมาะสมของค่า IOC ที่มีค่ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป 14. นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาแก้ไขในส่วนที่ยังบกพร่อง 15. นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้ไปหาประสิทธิภาพ ดังนี้ 15.1 ทดลองกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวังกะพี้พิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 3 คน โดยใช้นักเรียน เก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ 1 คน เพื่อหาข้อบกพร่องทางด้านภาษา รูปแบบ ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แล้วนำมาแก้ไข 15.2 ทดลองกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวังกะพี้พิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 9 คน โดยใช้นักเรียน เก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ 3 คน เพื่อหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

3.3.5. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.3.5.1. 1. ตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนโปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากสูตรดังนี้ (เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย, 2539: 181)

3.3.5.1.1. Untitled

3.3.5.1.2. โดยกำหนดเกณฑ์การพิจาณาดังนี้ +1 เมื่อแน่ใจว่าบทเรียนโปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความเหมาะสม 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าบทเรียนโปรกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความเหมาะสม 1 เมื่อแน่ใจว่าบทรียนโปรแกรม โปรแกรมคอมพิวตอร์ชยสอน ไม่มีความเหมาะสม เกณฑ์ค่า IOC แต่ละรายต้องมากกว่าหรือเท่ากับ .50

3.3.5.2. 2. ประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.3.5.2.1. Untitled

3.3.5.2.2. เกณฑ์ประสิทธิภาพของโปรแกรมดคมพิวเตอร์ช่วยสอนในการวิจัยครั้งนี้ใช้เกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนฉลี่ยร้อยละ 80 ของจำนวนคำตอบถูกของแบบฝึกหัดในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ของจำนวนคำตอบถูกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากโปรแกรมคอมฟิวเตอร์ช่วยสอน

3.4. ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.4.1. intro

3.4.1.1. ขั้นตอนการทดลองใช้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตันพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) กลุ่มตัวอย่าง คือ 1. นักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอุตรดิตถ์วิทยา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2541 จำนวน 20 คน 2. นักเรียนชั้นมัยมศึษาปีที่ 2 โรงเรียนวังกะพี้พิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึษา 2541 จำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน

3.4.1.2. การเลือกโรงเรียนที่ใช้การทดลองมีหลักในการพิจารณา ดังนี้ 1. เป็นนักเรียนในโรงเรียนที่ผู้บริหารและคณะครูห็นความสำคัญของการวิยและให้ความร่วมมือในการวิจัยเป็นอย่างดี 2. เป็นโรงเรียนที่มีคอมพิวเตอร์เพียงพอต่อการดำเนินการทดลอง

3.4.2. แบบแผนการวิจัย

3.4.2.1. ผู้ทำวิจัยทำการทดลองโดยใช้การวิจัยก่อนการทดลองแบบแผน The One Group Pretest Postest Desig ดังแสดงในตาราง 2 (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538: 240)

3.4.2.2. Untitled

3.4.2.3. Untitled

3.4.3. การดำเนินการทดลอง

3.4.3.1. ผู้วิจัยดำเนินทารทดลองโดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับกลุ่มตัวอย่าง 2. ดำเนินการทดลอง โดยผู้วิจัยแนะนำ และควบคุมดูแล การเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยตนเอง ใช้เวลาเรียน 5 คาบ คาบละ 50 นาที 2.1 สอนวิธีใช้คอมพิวเตอร์เบื้องตัน โดยให้นักเรียนเข้าโปรแกรมและออกโปรแกรมเองได้ สอนวิธีใช้เมาส์ โดยให้นักเรียนฝึกการคลิกเม้าส์ตามจุดต่างๆ ที่ต้องการให้คล่อง ใช้เวลาสอน 1 ดาบ 2.2 ให้นักเรียนได้เรียนด้วยตนเอง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยที่ผู้วิจัยคอย ดูแล ให้คำแนะนำ สำหรับนักเรียนที่เรียนไม่ทันเพื่อนก็สามารทบทวนบทเรียนด้วยตนเองได้ 3. เมื่อสอนจบบทเรียนแล้วทำการทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับเดียวกันที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน

3.4.4. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง

3.4.4.1. คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมบัติของรูปสามหลี่ยมมุมฉาก ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น

3.4.5. วิธีดำเนินการสร้างเครื่องมือ

3.4.5.1. 1. ศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหา วิชาคณิตศาสตร์ โดยทำตารางวิเคราะห์หลักสูตร 2. สร้างแบบทดสอบที่กำหนดไว้ในตารางวิคราะหหลักสูตร เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 45 ข้อ 3. นำข้อสอบที่สร้างขึ้นเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาแสดงความคิดเห็น ความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้กับแบบทดสอบ แล้วนำความคิดเห็นมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และพิจารณาข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป เป็นแบบทดสอบที่มีความตรงในการวัดตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 4. นำข้อสอบที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดสอบกับนักเรียนระดับชั้นมัยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2540 โรงเรียนทำทองวิทยาคม อำมอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 34 คน เพื่อค่าอำนาจจำแนกรายข้อของแบบทดสอบ 5. นำกระดาษคำตอบของนักเรียนมาตรวจให้คะแนน โดยให้คะแนน 1 คะแนน สำหรับข้อที่ตอบถูกและให้ 0 คะแนนสำหรับข้อที่ตอบผิด หรือตอบมากว่า 1 คำตอบ หรือไม่ตอบ 6. รวมคะแนนของแต่ละคนแล้วทำการวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ เพื่อหาอำนจจำแนก (B) ตามวิธีของเบรนนวน (Brennan) 7. คัดเลือกข้อสอบที่มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป จำนวน 30 ข้อ 8. นำแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้ 30 ข้อ มาหาความเที่ยงของแบบทดสอบทั้งฉบับตามวิธีของโลเวต (Lovett) 9. จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับจริง เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป

3.4.6. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.4.6.1. ในการวิคราะห์ข้อมูลในขั้นการวิจัยทดลองโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้วิจัยทำการ วิเคราะห์ ดังนี้

3.4.6.2. 1. นำกระดาษคำตอบของนักเรียนมาตรวจให้คะแนน โดยให้คะแนน 1 คะแนนสำหรับข้อที่ ตอบถูก และให้ 0 คะแนน สำหรับข้อที่ตอบผิด หรือตอบมากกว่า 1 คำตอบ หรือไม่ตอบ 2. นำคะแนนของนักเรียนทั้งหมดมาหาค่เฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการทดสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้สูตร t-test แบบ Dependent

3.4.6.3. โดยสถิติที่ใช้มีดังนี้

3.4.6.3.1. 1. การวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้วิธีการของเบรนนวน (Brennan) เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย, 2539: 210)

3.4.6.3.2. 2. การวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ โดยใช้วิธีการ ของ Lovet ซึ่งมีสูตรดังนี้ (เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย, 2539: 199)

3.4.6.3.3. 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้โปรแรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีสูตรดังนี้ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538: 104)

3.5. ขั้นตอนที่ 4 การประเมินโปรแกรมคอมพิวตอร์ช่วยสอน

3.5.1. intro

3.5.1.1. ระเบียบวิธีที่ใช้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงประเมิน มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อประเมินผลการใช้โปรแกรมคอมพิวตอร์ช่วยสอน โดยดำเนินการประเมิน 3 ด้าน ดังนี้ 1. ประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ประเมินเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการเรียน จำนวน แบบฝึกหัด เนื้อหา รูปแบบของโปรแกรมคอมหิวเตอร์ช่วยสอน 2. ประเมินกระบวนการ (Process Evalution) ประเมินเกี่ยวกับความเหมาะสมของวิธีการ สอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. ประเมินผลผลิต (Product Evalution) ประเมินโดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากการเรียนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.5.2. แหล่งข้อมูล

3.5.2.1. แหล่งข้อมูล คือ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสอนในวิชาคณิตศสตร์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จำนวน 30 คน

3.5.3. เครื่องมือที่ใช้ในการค้นคว้า

3.5.3.1. เครื่องมือที่ใช้ในการค้นคว้า คือ แบบประเมินโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3.5.4. วิธีดำเนินการสร้างเครื่องมือ

3.5.4.1. วิธีดำเนินการสร้างเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ ศึกษาแบบสอบถามโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของวชิระ อินทร์อุดม และวราภรณ์ สุวรรณคำ 2. ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมินจากหนังสือ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบประเมิน 3. สร้างแบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 20 ขอ 4. นำแบบประเมินที่สร้างเสร็จแล้วไปให้ที่ปรึษาวิทยานิพนธ์พิจารณาตรวจสอบแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข 5. จัดพิมพ์แบบประเมิน แล้วนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.5.5. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.5.5.1. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ผู้วิจัยแจกแบบประเมินให้กับนักรียนที่เรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จำนวน 30 คน 2. ตรวจนับคะแนนเพื่อวิคราะห์ข้อมูลและเทียบเกณฑ์เพื่อตัดสินเป็นรายด้านตามที่กำหนดไว้

3.5.6. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.5.6.1. 1. นำแบบประเมินมาตรวจให้คะแนน โดยมีการให้คะแนน ดังนี้

3.5.6.1.1. ระดับความเหมาะสมมากที่สุด ให้คะแนน 5 คะแนน ระดับความเหมาะสมมากให้คะแนน 4 คะแนน ระดับความเหมาะสมปานกลาง ให้คะแนน 3 คะแนน ระดับความเหมาะสมน้อย ให้คะแนน 2 คะแนน ระดับความเหมาะสมน้อยที่สุด ให้คะแนน 1 คะแนน

3.5.6.2. Untitled

3.5.6.2.1. ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50 - 5.00 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50 - 4.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 - 3.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.50 - 2.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 - 1.49 หมายถึง มีปัญหาอยู่ในระดับน้อยที่สุด