กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา จิตสังคม และจิตวิญญาณในผู้สูงอายุ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา จิตสังคม และจิตวิญญาณในผู้สูงอายุ by Mind Map: กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา จิตสังคม และจิตวิญญาณในผู้สูงอายุ

1. กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา

1.1. 1. ผิวหนัง

1.1.1. ชั้นหนังกำพร้า

1.1.1.1. ความชื้นลดลง ผิวบางซีเ

1.1.2. ชั้นหนังแท้

1.1.2.1. ความหนาและยืดหยุ่นลดลง

1.1.2.2. การความคุมอุณหภูมิทำได้ไม่ดี

1.1.3. ชั้นใต้ผิวหนัง

1.1.3.1. ไขมันที่หน้าท้องและต้นขาเพิ่มขึ้น

1.1.3.2. ผมเปลี่ยนสี และลดลง

1.1.4. ผลกระทบ

1.1.4.1. ผื่นคัน ติดเชื้อ เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งผิวหนัง

1.1.5. การพยาบาล

1.1.5.1. ใช้โลชั่นทาบ่อยๆ

1.1.5.2. ทาครีมกันแดด

1.1.5.3. ดื่มน้ำอย่างน้อย 1.5 ลิตร

1.2. 2. ระบบประสาทและสมอง

1.2.1. ระบบประสาท

1.2.1.1. ประสาทอัตโนมัติ

1.2.1.1.1. รูม่านต่าเล็กลง

1.2.1.1.2. ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าทาง

1.2.1.2. ประสาทสั่งการ

1.2.1.2.1. ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า

1.2.1.2.2. การเคลื่อนไหวช้าลง

1.2.2. ระบบสมอง

1.2.2.1. สารสื่อประสารลดต่ำลง

1.2.2.2. ผลกระทบ

1.2.2.2.1. เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

1.2.2.2.2. หลงลืมบ่อย

1.2.3. ระบบประสาทรับความรู้สึก

1.2.3.1. ตา

1.2.3.1.1. ปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสงลดลง

1.2.3.1.2. ความยืดหยุ่นหนังตาลดลง

1.2.3.1.3. รูม่านต่าเล็กลง

1.2.3.2. หู

1.2.3.2.1. การได้ยินลดลง

1.2.3.3. ลิ้น

1.2.3.3.1. ตุ่มรับรสฝ่อลีบ

1.2.3.4. จมูก

1.2.3.4.1. เยื่อบุจมูกโพรงเสื่อม

1.2.3.4.2. สูญเสียหน้าที่ของเส้นประสาทคู่ที่ 1

1.2.3.5. กาย

1.2.3.5.1. การรับความเจ็บปวดเสื่อม

1.2.3.6. การพยาบาล

1.2.3.6.1. ประเมินการเรียนรู้

1.2.3.6.2. จัดสภาพแวดล้อมและจัดวางอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ ไม่เคลื่อนย้ายบ่อย

1.2.3.6.3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมง่ายๆ

1.3. 3. ระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ

1.3.1. กล้ามเนื้อ การแข็งแรงลดลง

1.3.2. กระดูกและข้อ เกิดกระดูกพรุน

1.3.3. ผลกระทบ

1.3.3.1. สูญเสียภาพลักษณ์

1.3.3.2. เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ

1.3.4. การพยาบาล

1.3.4.1. ทำกิจกรรมท่ามกลางแสงแดดอ่อนๆ

1.3.4.2. ดูแลจัดสิ่งแวดล้อม

1.3.4.3. ใส่อุปกรณ์พยุงข้อ

1.4. 4. ระบบหัวใจและหลอดเลือด

1.4.1. กล้ามเนื้อหัวใจ ความยื่นหยุ่นลดลง

1.4.2. ลิ้นหัวใจ อาจเกิดลิ้นหัวใจตีบ

1.4.3. หลอดเลือด

1.4.3.1. ผนังชั้นใน หนาตัวขึ้นและมีโปรตีนมาเกาะ

1.4.3.2. ผนังชั้นกลาง เสื่อมสลายและมีไขมันมาเกาะ

1.4.4. ผลกระทบ

1.4.4.1. ประสิทธิภาพในการสูบฉีดเลือดลดลง

1.4.4.2. เกิดเลือดไหลย้อนกลับ

1.4.4.3. หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจตาย

1.4.5. การพยาบาล

1.4.5.1. แนะนำเรื่องอาหาร

1.4.5.2. แนะนำให้คุมน้ำหนัก

1.4.5.3. หลีกเลี่ยงการนั่งไขว้ขา การยืนนานๆ

1.5. 5. ระบบหายใจ

1.5.1. ปลายจมูก จะงุ้มลง

1.5.2. ขนโบกพัด เสื่อมหน้าที่ลง

1.5.3. กล่องเสียง ปิดช้า ปิดไม่สนิท

1.5.4. หลอดลม มีการสะสมของแคลเซียม การยืดขยายลดลง

1.5.5. ทรวงอกและปอด รูปร่างคล้ายถังเบียร์ มีก๊าซค้างในปอดเพิ่มมากขึ้น

1.5.6. ถุงลม พื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

1.5.7. ผลกระทบ

1.5.7.1. เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจได้ง่าย

1.5.7.2. สำลักได้ง่าย

1.5.8. การพยาบาล

1.5.8.1. หลีกเลี่ยงการอยู่ในชุมชนแออัด

1.5.8.2. จัดโปรแกรมออกกำลังกาย

1.6. 6. ระบบทางเดินอาหาร

1.6.1. ฟันจะหลุดง่าย

1.6.2. กระเพาะอาหาร กรดน้ำย่อยหลั่งลดลง

1.6.3. ลำไส้เล็ก แคลเซียมดูดซึมได้น้อยลง

1.6.4. ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก เยื่อบุลำไส้ฝ่อลีลง อาหารผ่านช้า

1.6.5. ตับอ่อน มีพังผืดเพิ่มขึ้นและมีไขมันแทรก

1.6.6. ตับและระบบน้ำดี ตับเล็กลง ไขมันสะสมทำให้เกิดนิ่วในถุงน้ำดี

1.6.7. ผลกระทบ

1.6.7.1. ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ

1.6.7.2. เกิดสารพิษตกค้าง

1.6.7.3. เกิดนิ่วในถุงน้ำดี

1.6.8. การพยาบาล

1.6.8.1. ตรวจฟันทุก 6 เดือน

1.6.8.2. แนะนำเรื่องการขับถ่าย

1.6.8.3. หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ท้องอืด

1.7. 7. ระบบทางเดินปัสสาวะ

1.7.1. ไต ปัสสาวะเข้มข้นมากขึ้น

1.7.2. กระเพาะปัสสาวะ หูรูดสมรรถภาพลดลง

1.7.3. ผลกระทบ

1.7.3.1. ไตมีประสิทธิภาพลดลง

1.7.3.2. ปัสสาวะลำบาก

1.7.3.3. ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ

1.7.4. การพยาบาล

1.7.4.1. ตรวจ BUN, Creatinin

1.7.4.2. วางแผนการขับถ่าย

1.8. 8. ระบบทางต่อมไร้ท่อ

1.8.1. ต่อมใต้สมอง ผิวต่อมเหี่ยวย่น น้ำหนักลดลง

1.8.2. ต่อมหมวกไต

1.8.2.1. ส่วนนอก มีเยื่อพังผืดมากขึ้น

1.8.2.2. ส่วนใน การหลั่งสารสื่อประสาทใช้เวลานาน

1.8.3. ต่อมหมวกไต เนื้อเยื่อพังผืดสะสมมากขึ้น

1.8.4. ตับอ่อน เซลล์ฝ่อลีบ

1.8.5. ต่อมพาราไทรอยด์

1.8.6. ต่อมเพศ FSH และ LH ลดลง

1.8.7. ผลกระทบ

1.8.7.1. เสียสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย

1.8.7.2. ความดันโลหิตสูง

1.8.8. การพยาบาล

1.8.8.1. ออกกำลังกายท่ามกลางแสงแดดอ่อนๆ

1.8.8.2. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสม่ำเสมอ

1.9. 9. ระบบสืบพันธุ์

1.9.1. เพศชาย

1.9.1.1. อัณฑะขนาดเล็กลง

1.9.1.2. ต่อมลูกหมากขยายใหญ่ขึ้น

1.9.1.3. ถุงเก็บน้ำอสุจิความจุมีขนาดเล็กลง

1.9.1.4. องคชาติความสามารถในการแข็งตัวลดลง

1.9.1.5. ผลกระทบ

1.9.1.5.1. ปัสสาวะลำบาก

1.9.1.5.2. หย่อนสมรรถภาพทางเพศ

1.9.2. เพศหญิง

1.9.2.1. กายภาพ

1.9.2.1.1. มดลูกขนาดเล็กลง

1.9.2.1.2. รังไข่ขนาดเล็กลง

1.9.2.2. ประจำเดือนเริ่มขาด

1.9.2.3. ผลกระทบ

1.9.2.3.1. เกิดเนื้องอก

1.9.2.3.2. เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์

1.9.2.3.3. สูญเสียภาพลักษณ์

1.9.3. การพยาบาล

1.9.3.1. ใช้ฮอร์โมนทดแทน

1.9.3.2. ใช้สารหล่อลื่นขณะมีเพศสัมพันธ์

1.10. 10. ระบบภูมิคุ้มกัน

1.10.1. ผลกระทบ

1.10.1.1. ติดเชื้อได้ง่าย

1.10.1.2. ป่วยด้วยโรค Autoimmune & Cancer

1.10.2. การพยาบาล

1.10.2.1. ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล

1.10.2.2. ดูแลให้ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ๋

1.10.2.3. หลีกเลี่ยงการสัมผัสเชื่อโรค

1.10.2.4. ปฏิบัติการพยาบาลด้วยหลักปราศจากเชื้อ

2. กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ

2.1. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ

2.1.1. พัฒนาการทางจิตใจ

2.1.1.1. บุคลิกภาพ มีการพัฒนาตลอดชีวิต

2.1.1.2. การเรียนรูู้ เริ่มลดลงเมื่ออายุ 40 ปี

2.1.1.3. ความจำ จำเรื่องในอดีตได้ดี แต่สิ่งใหม่ๆจำได้ลดลง

2.1.1.4. สติปัญญา การเรียนรู้ในอดีตและประสบการณ์ในการแก้ปัญหา

2.1.1.5. สมรรถภาพ การนำความรู้ไปใช้จะน้อยกว่าความรู้จริงที่ได้ีับ

2.1.1.6. เจตคติ ความสนใจและคุณค่า

2.1.1.7. การรับรู้ตนเองและความรู้สึกมีคุณค่า

2.1.1.8. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1.1.8.1. อารมณ์

2.1.1.8.2. นิสัย

2.1.1.8.3. ความทุกข์ใจ

2.1.2. บุคลิกภาพของผู้สูงอายุ

2.1.2.1. 1.ผสมผสาน

2.1.2.1.1. Reorganizers ค้นหากิจกรรมเพื่อปรับความสามารถเดิมที่หายไป

2.1.2.1.2. Focused มีความพึงพอใจปานกลาง

2.1.2.1.3. Disengaged กิจกรรมน้อย แต่ความพึงพอใจสูง

2.1.2.2. 2. ต่อต้าน

2.1.2.2.1. Holding on เกลียดกลัวความชรา

2.1.2.2.2. Constricted ชอบจำกัดบทบาทพฤติกรรมของตนเอง

2.1.2.3. 3. เฉยชา

2.1.2.3.1. Succurance seeking พึ่งพาบุคคลอื่นเพื่อตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์ของตนเอง

2.1.2.3.2. Apathy or rocking chair พฤติกรรมเฉยชา

2.1.2.4. 4. แบบขาดการผสมผสาน

2.1.2.4.1. ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถปรับตัวให้ยอมรับความชราของตนเองได้

2.1.3. หลักการช่วยเหลือ

2.1.3.1. การเรียนรู้

2.1.3.1.1. กระตุ้นและเสริมแรงด้านต่างๆ

2.1.3.1.2. ให้เวลาในการทำกิจกรรมมากขึ้น

2.1.3.2. ความจำ

2.1.3.2.1. เขียนหนังสือตัวโต

2.1.3.2.2. การจดบันทึก

2.1.3.2.3. ทำสมาธิ

2.1.3.2.4. ออกกำลังกาย

2.1.4. ลักษณะความเสื่อมทางปัญญา

2.1.4.1. ความสามารถในการใช้เหตุผลเสื่อมเร็ว

2.1.4.2. ความคิดสร้างสรรค์ลดลง

2.1.4.3. มักใช้วิธีแก้ปัญหาแบบเดิมๆ

2.1.5. ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ

2.1.5.1. ซึมเศร้า

2.1.5.2. วิตกกังวล

2.1.5.3. ท้อแท้สิ้นหวัง

2.2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

2.2.1. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ

2.2.1.1. 1. ปลดเกษียณ

2.2.1.2. 2. การเปลี่ยนแปลงของสังคมครอบครัว

2.2.1.2.1. แบบแผนการปรับตัวต่อการเป็นหม้าย

2.2.1.3. 3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม

2.2.1.4. 4. การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

2.3. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตวิญญาณ

2.3.1. ปัจจัยที่มีอิทธิพล

2.3.1.1. ความเชื่ออำนาจภายในตน

2.3.1.2. ความเชื่ออำนาจภายนอกตน

2.3.2. ผลกระทบ

2.3.2.1. 1. ภาวะสุขภาพ เชื่ออำนาจภายในสูง สุขภาพดีเพราะปฏิบัติถูกต้อง

2.3.2.2. 2. การป้องกันโรค เชื่ออำนาจภายในสูง มีพฤติกรรมป้องกันโรคดี

2.3.2.3. 3. การเผชิญความเจ็บป่วย เชื่ออำนาจภายในสูง จะหายได้เร็ว

2.3.2.4. 4. การให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล เชื่ออำนาจภายในสูง จะเต็มใจรับการรักษา

2.4. การพยาบาล

2.4.1. ให้ความรู้ผู้สูงอายุและครอบครัว

2.4.2. ส่งเสริมการปรับตัวด้านจิตสังคม

2.4.3. สนับสนุนสุขภาพ

2.4.4. ให้การดูแล ช่วยเหลือเมื่อยามเจ็บป่วย