1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์
1.1. ชมพูทวีปแบ่งเป็น 2 เขต
1.1.1. "มัชฌิมชนบท/มัธยมประเทศ"แปลวา ส่วนกลางของประเทศ เป็นเขตที่อยู่ของชน ชาตอริยกะ/อารยัน ปกครองสวนกลางของ ประเทศ
1.1.2. "ปัจจันตชนบท/ปัจจันตประเทศ"แปลว่า ประเทศชายแดน เป็นเขตที่อยู่ของมิลักขะ ปกครองชายแดนของประเทศ
1.2. มูลเหตุเเห่งการแบ่งเช่นนี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงสันนิษฐานว่า พวกอริยะ คงเรียกชนบทที่ตนเขาตั้ง และเป็นใจกลางแห่งการปกครองว่า มชิฌชนบท เรียกชนบทที่พวกมิลักขะตั้งอยู่ภายนอกเขตของตนว่าปัจจันตชนบท
1.3. ชมพูทวีป คือ ดินแดนเป็นแดนเกิดของ พระพุทธศาสนาปัจจุบัน อยู่ทางตอนใต้ของ เทือกเขาหิมาลัย
2. ลักษณะทางสังคม
2.1. ความเชื่อเรื่องวรรณะ
2.1.1. การถือวรรณะอย่างรุนแรงเป็นพื้นฐานสำคัญของสังคมอินเดียทั้งก่อนพุทธกาลและสมัยพุทธกาล แต่ชาวอินเดียจะยอมรับวรรณะตามชาติกำเนิดโดยไม่ต่อต้าน แม้จะมีความแตกตางทางชั้นวรรณะ แต่สิ่งหนึ่งที่สวนทางคือ ระบบการศึกษา โดยองค์การยูเนสโก้จัดอันดับให้อินเดียเป็น ประเทศที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดเป็นอันดับ4ของโลก ดังนั้นจึงมีนักศึกษาจากตางประเทศ รวมถึงพระสงฆ์จากประเทศไทยไปศึกษาเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยในอินเดียจำนวนมาก เพราะ นอกจากมาตรฐานการศึกษาแล้ว ค่าเลาเรียนก็ไม่สูงเมื่อเทียบกับประเทศ ตะวันตก
2.1.2. วรรณะทั้ง 4 ชาวอินเดียจะมีการแบ่งผู้คนออกเป็นพวกๆหรือวรรณะตามความเชื่อจากศาสนาฮินดูคือ 1.วรรณะพราหมณ์เป็นวรรณะสูงสุด 2.วรรณะกษัตริย์ 3.วรรณะแพศย์ 4.วรรณะศูทร
2.2. การปกครอง
2.2.1. 1.ราชาธิปไตย/สมบูรณาญาสิทธิราชย์ เช่นแคว้นมคธ
2.2.2. 2.คณาธิปไตย/สามัคคีธรรม/สาธารณรัฐ เช่นแคว้นมัลละ แควนวัชชี แคว้นสักกะ
3. ลักษณะทางศาสนา
3.1. อาระนันถือบ้านเป็นบ้านของตนเป็นชนเผ่าเร่ร่อน สิ่งประดิษฐ์ต้องมาจากฟ้า เทพเจ้า:พระอินทร์
3.2. มิลักขะ ใช้พื้นดินทำการเกษตร สิ่งเคารพมาจากดิน เทพเจ้า:นาค
3.3. ต่อมามีการประสานความ เชื่อเกิดคติความเชื่อของ ศาสนาพราหมณ์ อดีตพระพรหมสร้างโลก
3.4. คนในชมพูทวีปพระพรหมหลายชีวิตที่มีความหมาย ต่างกันในสังคมโดยแบ่งเป็นวรรณะเรียกว่าเป็นพรหมลิขิต
3.5. ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย
3.5.1. 1.ตายแล้วเกิดเคยเกิดในวรรณะซึาง ไม่ว่าชาติไหน ๆ ก็จะเกิดใน วรรณะเดิมเรียกว่าพวกเขา มีความเห็นว่าเที่ยงการเกิดคงที่แน่นอน
3.5.2. 2.ตายแล้วขาดสูญชีวิตนี้มีชีวิตเดียว ตายแล้วสูญสิ้น ไม่เวียนว่ายตายเกิด ตายแล้วตายเลยเรียกว่า พวกอุจเฉททิฏฐิ ตายแล้วขาดสูญ
3.6. ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย ก่อให้เกิดการดำเนินชีวิต 2 กระเเส
3.6.1. 1.แสวงหาความสุขบำรุงบำเรอตนทางกาย ในปัจจุบัน
3.6.2. 2.การทรมานตนเพื่อหวังผลใหม่ความสุขหลังความตาย
3.6.3. ตามหลักพระพุทธศาสนา เชื่อว่า กรรมเปนตัวกำหนด ชะตามนุษย์เมื่อหมดกรรมก็ไม่มีการเวียนว่ายตาเกิด แต่ถ้ายังไม่สนกิเลสก็ต้องเวียนว่ายตายเกดอยู่ร่ำไป เรียกวา กรรมลิขิต