นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 และ Thailand4.0

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 และ Thailand4.0 by Mind Map: นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 และ Thailand4.0

1. การจัดการเรียนรู้สู่การศึกษาไทย

1.1. อุตสาหกรรม 4.0 สู่การศึกษา 4.0

1.1.1. เริ่มจากการศึกษาไทย 1.0 ที่เป็นยุคเกษตรกรรม เน้นการศึกษาแบบพึ่งตนเองทักษะหลักที่ใช้ก็เพื่อยังชีพ

1.1.2. จากนั้นก้าวสู่การศึกษาไทย2.0 เป็นการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของอุตสาหกรรม

1.1.3. การศึกษาไทย3.0 คือ การศึกษาในยุคเทคโนโลยี ยุคโลกาภิวัฒน์

1.1.4. ส่วนปัจจุบันเป็นการศึกษาไทย4.0เป็นการศึกษายุคผลิตภาพเป็นยุคที่ต้องการผลผลิตให้ได้มากที่สุด เพื่อประโยชน์ของชุมชนด้วยทักษะการศึกษาที่เน้นการทำได้ และลงมือทำ แล้วออกมาเป็นผลิตผล

1.2. คุณลักษณะของผู้เรียน4.0

1.2.1. การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)

1.2.2. การคิดสร้างสรรค์ (Creative)

1.2.3. การสร้างผลงาน (Productivity)

1.2.4. ทำงานร่วมกับผู้อื่น (Cooperation)

1.2.5. ภาวะผู้นำ (Leadership)

1.2.6. ภูมิใจในความเป็นไทย (Thai Pride)

1.2.7. เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong)

1.2.8. สมรรถนะทางวัฒนธรรม (Cultural)

1.2.9. ความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

1.2.10. ทักษะการทำงาน (Work Skills)

1.3. รูปแบบการจัดการเรียนรู้

1.3.1. เน้นการคิด 4 ประการ

1.3.1.1. คิดวิเคราะห์ (Critical)

1.3.1.2. คิดสร้างสรรค์

1.3.1.3. คิดผลิตภาพ (Productive)

1.3.1.4. คิดรับผิดชอบ

1.3.2. รูปแบบการเรียนการสอน CRP

1.3.2.1. รูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึก (Crystal Based Instructional Model)

1.3.2.2. รูปแบบการเรียนการสอนด้วยวิธีวิจัย (Research Based Instructional Model)

1.3.2.3. รูปแบบการเรียนการสอนเชิงผลิตภาพ (Productivity Based Instruction Model)

2. การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุคThailand4.0

2.1. 1)การเตรียมหลักสูตร

2.1.1. การศึกษาทุกระดับจำเป็นต้องได้รับการปฏิรูปเพื่อสอดคล้องกับบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การศึกษาหรือหลักสูตรในยุคThailand4.0ควรมีเป้าหมายหลักเพื่อผลผลิต โดยครูต้องฝึกให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดมากกว้าการใช้ความจำไม่เน้นการเรียน/การสอนแบบท่องจำ ไม่เน้นการสอบเพื่อให้ได้คะแนนสูงๆครูผู้สอนควรเลือกการบรรยายเป็นสำคัญ ควรให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์และใช้สถานการณ์ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้

2.2. 2) บทบาทของครูผู้สอนในยุค Thailand 4.0

2.2.1. เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ที่ทำหน้าที่หล่อหลอมให้ผู้เรียนเกิด”ทักษะ” ด้านต่างๆที่คงอยู่และมีพัฒนาการเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเน้นให้ผู้เรียนใช้การคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถนำไปเป็นฐานในการสร้างผลผลิตหรือนวัตกรรม(Innovation) ได้ในอนาคตเพื่อตอบสนองนโยบายThailand 4.0 ของประเทศไทย

2.3. 3) ทักษะที่สำคัญสำหรับผู้เรียนในยุคไทยแลนด์ 4.0

2.3.1. 3.1) ทักษะการคิดเชิงบริหาร (Executive Function Skils)

2.3.2. 3.2) ทักษะการใช้ Internet (Internet Skills)

2.3.3. 3.3) ทักษะการคิดสิเคราะห์ (Analytical Thinking Skills)

2.3.4. 3.4) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking Skills)

2.3.5. 3.5) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving Skills)

2.3.6. 3.6) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills)

2.3.7. 3.7) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Relationship Skills)

2.3.8. 3.8) ทักษะด้านภาษาอังกฤษ (English Skills)

2.3.9. 3.9) ทักษะด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics Skills)

2.3.10. 3.10) ทักษะด้านจิตสาธารณะ (Public Mind Skills)

3. นวัตกรรมการเรียนการสอนกับการศึกษายุค 4.0

3.1. ความสำคัญ

3.1.1. ระบบการศึกษาเหมือนซอฟแวร์ที่สร้างมาอย่างสลับซับซ้อน ต้องพัฒนาแบบเปลี่ยนเวอร์ชั่น การเปลี่ยนเวอร์ชั่นต้องทำให้ Upward Compatible คือใช้กับของเก่าได้

3.1.2. ต้องคิดว่าการศึกษาเหมือน software มันจะค่อยๆ upgrade มันค่อยๆ ปรับระบบเอง ให้ดีขึ้นค่อยๆ Patch ค่อยๆ ปรับเปลี่ยนในลักษณะเวอร์ชั่น

3.1.3. อยากจะเรียนรู้อะไรต่างๆ เราเรียนรู้บนนี้ได้หมดเพราะเทคโนโลยีมันเปลี่ยน ส่งผลให้วิธีของการเรียนหนังสือนั้นเปลี่ยน

3.2. การเรียนการสอนต้องใช้นวัตกรรมใหม่

3.3. Smart การศึกษาต้องสมาร์ท

3.4. อย่าดึงการศึกษาย้อนยุค

3.5. กาศึกษาต้องใช้เทคโนโลยีช่วย

3.6. การพัฒนาการศึกษาต้องเป็นเวอร์ชั่น

3.7. ของใหม่ คือเวอร์ชั่น

3.8. รูปแบบของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป

3.9. อิเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

3.10. การเรียนรู้แนวราบ ครูเป็นผู้จัดการ

3.11. ดิจิทัลเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต

3.12. สื่อใหม่กับเนื้อหาบนก้อนเมฆ

3.13. สิ่งที่หายไปในอนาคต