1. การลำเลียงธาตุอาหาร
1.1. ดูดซึมผ่านทางราก
1.2. ความสำคัญของธาตุอาหาร
1.2.1. หลัก
1.2.1.1. C,H,O
1.2.2. ธาตุอาหารหลัก
1.2.2.1. N,P,X,Ca,Mg,S,Si
1.2.3. ธาตุอาหารรอง
1.2.3.1. Cl,Fe,Zn,Mn,Cu,B,Mo
1.3. การเคลื่อนที่ของธาตุอาหารสู่พืช(รูปไอออน)
1.3.1. อาศัยโปรตีนในการลำเลียง
1.3.1.1. แอกทีฟทรานสปอร์ต
1.3.1.2. ฟาซิลิเทต
1.3.2. เคลื่อนที่ผ่านcortexได้โดย
1.3.2.1. ซิมพลาสต์
1.3.2.2. อโพพลาสต์
1.3.2.3. ทรานส์เมมเบรน
1.3.3. ธาตุอาหาร=>พืช=>เอนโดเดอร์มิส=>ไซเล็ม=>ส่วนต่างๆของพืชโดยไปพร้อมกับน้ำ
2. การลำเลียงอาหาร
2.1. พบน้ำตาลซูโครส
2.2. การเคลื่อนย้ายอาหาร
2.2.1. แหล่งสร้าง=>แหล่งรับ
2.2.2. ผ่านทางเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม
2.3. กลไกการลำเลียง
2.3.1. อาศัยความแตกต่างของความดันในซีฟทิวบ์เมมเบอร์บริเวณแหล่งสร้างและแหล่งรับ
2.3.2. น้ำตาลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงในคลอโรพลาสต์ลำเลียงออกไปไซโทพลาสต์ซึมเปลี่ยนเป็นน้ำตาลซูโครส=>แหล่งสร้าง=>ลำเลียงผ่านซีฟทิวบ์ไปยังส่วนต่างๆ
3. การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำ
3.1. แลกเปลี่ยนCO2และO2
3.1.1. ผ่านทางรูปากใบ
3.1.1.1. ชลศักย์>น้ำในอากาศ
3.2. พืชพบปากใบที่เอพิเดอร์มิสด้านล่างมากกว่าด้านบน
3.2.1. ใบลอยปริ่มน้ำ
3.2.1.1. พบที่ผิวใบด้านบนเท่านั้น
3.2.2. พืชจมใต้น้ำ
3.2.2.1. ไม่มีปากใบ
3.3. การเปิด-ปิด ปากใบ
3.3.1. ขึ้นอยู่กับความเต่งเซลล์คุม
3.3.1.1. ความเต่ง
3.3.1.1.1. โค้งมากปากใบเปิด
3.3.1.2. สูญเสียความเต่ง
3.3.1.2.1. รูปากใบปิด
3.3.1.2.2. ปากใบปิด
3.3.1.3. เกี่ยวข้องกับK+/ซูโครส
3.3.1.3.1. เมื่อมีแสง
3.3.1.3.2. เมื่อเย็น
3.4. การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3.4.1. อาจเกิด
3.4.1.1. แผลที่เปลือกไม้หรือราก เลนทิเชล รอยปริแยกที่ผิวเปลือกไม้
3.4.1.2. รากพืชมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยตรงกับอากาศผ่านเซลล์รากที่ยังไม่มีชั้นคิวทิเคิล
3.4.2. แก๊สแพร่จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ
3.5. การคายน้ำ
3.5.1. ไอน้ำแพร่ออกทางรูปากใบเมื่อความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศต่ำกว่าในใบพืชผ่านทางปากใบ
3.5.2. ปัจจัย
3.5.2.1. ความเข้มแสง
3.5.2.1.1. ปากใบปิด
3.5.2.1.2. ปากใบเปิดกว้าง
3.5.2.2. ความชื้นสัมพัทธ์
3.5.2.2.1. (ลด)ปริมาณไอน้ำลด ไอน้ำแพร่ออกจากใบผ่านรูปากใบเร็วขึ้นการคายน้ำมาก
3.5.2.3. ลม
3.5.2.4. อุณหภูมิ
3.5.2.4.1. รูปากใบเปิด อุณหภูมิอากาศสูงขึ้น
3.5.2.4.2. ความชื้นสัมพัทธ์ลด
3.5.2.5. ปริมาณน้ำในดิน
3.5.2.5.1. เริ่มขาดน้ำสร้างกรดแดงไซซิกทำให้ปากใบเปิดการคายน้ำลด
4. การลำเลียงน้ำ
4.1. ชลศักย์
4.1.1. แรงดันและแรงดึง
4.1.1.1. น้ำเคลื่อนที่จากความดันสูงไปต่ำ
4.1.2. ตัวละลาย
4.1.2.1. น้ำเคลื่อนที่จากต่ำไปสูง
4.1.3. น้ำเคลื่อนที่จากชลศักย์ต่ำไปสูง
4.1.4. พลังอิสระของน้ำ
4.2. สิ่งแวดล้อมสู่ราก
4.2.1. เยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่ไซโทรพลาสซึมของเซลล์ขนราก
4.2.1.1. แบบออสโมซิส
4.2.1.2. แพร่แบบฟาซิลิเทต
4.2.2. อาจเคลื่อนที่ผ่านผนังเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์
4.3. การลำเลียงน้ำสู่ไซเล็ม
4.3.1. แบบซิมพาสต์
4.3.1.1. ผ่านทางพลาสโมเดสมาตา
4.3.2. แบบอโพพาสต์
4.3.2.1. ผนังเซลล์
4.3.2.2. ช่องว่างระหว่างเซลล์
4.3.3. แบบทรานส์เมมเบรน
4.3.3.1. ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
4.3.4. น้ำสู่รากผ่านคอร์เท็กสู่ไซเล็ม
4.4. การลำเลียงน้ำภายในไซเล็ม
4.4.1. การซึมตามรูเล็ก
4.4.1.1. เกิดจาก
4.4.1.1.1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ำ(โคฮีชัน)
4.4.1.1.2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้ำกับผนังเซลล์ของหลอดลำเลียง(แอดฮีชัน)
4.4.2. แรงดึงจากการคายน้ำ
4.4.2.1. น้ำในสปองจีมีโซฟิลด์ที่ปากใบลดลง
4.4.2.1.1. ชลศักย์ที่ใบต่ำกว่าที่ราก
4.4.3. ความดันราก
4.4.3.1. ทำให้น้ำเคลื่อนที่ไปตามไซเล็ม
4.4.3.1.1. ออกมาทางรูหยาดน้ำ
4.4.3.1.2. บริเวณขอบใบ/ปลายใบ