1. ภาคตะวันออก
1.1. ภูมิประเทศ
1.2. ภูมิอากาศ
1.2.1. ลักษณะอากาศแบบสะวันนา
2. ภาคตะวันตก
2.1. ภูมิประเทศ
2.2. ภูมิอากาศ
2.3. ทรัพยากรธรรมชาติ
2.3.1. ดิน
2.3.2. แร่ธาตุ
2.3.2.1. หินอ่อน
2.3.2.2. รัตนชาติ
2.4. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
2.4.1. เพาะปลูก
2.4.2. เลี้ยงสัตว์
3. ภาคใต้
3.1. ภูมิประเทศ
3.1.1. เขตเทือกเขา
3.1.2. เขตที่ราบ
3.2. ภูมิอากาศ
3.3. ทรัพยากรธรรมชาติ
4. ภาคอีสาน
4.1. ภูมิประเทศ
4.1.1. เขตภูเขา
4.2. ภูมิอากาศ
4.3. ทรัพยากรธรรมชาติ
5. ภาคกลาง
5.1. ภูมิประเทศ
5.1.1. เขตที่ราบภาคกลางตอนบน เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบลูกฟูก (เนินเขาสลับกับที่ราบ)
5.1.2. เขตที่ราบภาคกลางตอนล่าง เป็นที่ราบกว้างที่เกิดจากการทับถมของตะกอน และเกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา
5.1.3. เขตที่ราบทางตะวันออกและตะวันตก เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำสลับกับลูกฟูก มีภูเขาที่ไม่สูงกระจายอยู่ทั่วไป
5.2. ภูมิอากาศ
5.2.1. เป็นแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน (Aw) คือมีฝนตกปานกลาง และสลับกับฤดูแล้ง
5.3. ทรัพยากรธรรมชาติ
5.3.1. ทรัพยากรดิน
5.3.1.1. ดินตะกอนเก่าไม่เหมาะสมในการเพาะปลูก
5.3.2. ทรัพยากรน้ำ
5.3.2.1. ประกอบแม่น้ำและลำคลองจำนวนมาก จึงเป็นภาคที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ
5.3.3. ทรัพยากรป่าไม้
5.3.3.1. ภาคกลางมีพื้นที่ของป่าไม้น้อยมาก ส่วนใหญ่พบในภาคกลางตอนบนเป็นป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบ ส่วนจังหวัดอื่น ๆ ไม่มีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่เลย
5.3.4. ทรัพยากรแร่ธาตุ
5.3.4.1. แร่ที่สำคัญคือ แร่โลหะ และแร่อโลหะ
5.4. แม่น้ำสายสำคัญ
5.4.1. 1. แม่น้ำเจ้าพระยา
5.4.2. 2. แม่น้ำป่าสัก
5.4.3. 3. แม่น้ำสะแกกรัง
5.5. เทือกเขาที่สำคัญ
5.5.1. เทือกเขาเพชรบูรณ์
5.5.2. เทือกเขาถนนธงชัย
6. ภาคเหนือ
6.1. ภูมิประเทศ
6.1.1. ทิวเขา
6.1.1.1. ทิวเขาถนนธงชัย
6.1.1.2. ทิวเขาแดนลาว
6.1.1.3. ทิวเขาหลวงพระบาง
6.1.1.4. ทิวเขาผีปันน้ำ
6.1.2. ยอดเขาอินทนนท์ 2,565 เมตร
6.1.3. แม่น้ำ
6.1.3.1. ไหลจากเหนือลงใต้