ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ by Mind Map: ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

1.1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญามี 4 ข้อ

1.1.1. 1.ขั้นพัฒนาการทางสติปัญญา

1.1.1.1. ช่วงอายุ 0-2 ปี ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส

1.1.2. 2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด

1.1.2.1. ช่วงอายุ 2-4 ปี ขั้นก่อเกิดความคิดรวบยอด

1.1.2.2. ช่วงอายุ 4-7 ปี ขั้นการคิดด้วยความเข้าใจของตน

1.1.3. 3.ขั้นการคิดแบบรูปธรรม

1.1.3.1. ช่วงอายุ 7-11 ปี ขั้นที่รับรู้จากรูปร่าง เข้าใจความสัมพันธ์ของตัวเลข

1.1.4. 4.ขั้นการคิดแบบนามธรรม

1.1.4.1. สามารถตั้งสมมติฐานและใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

2.1. 1ผู้เรียนเป็นผุ้สร้างความรู้ด้วยตนเอง

2.2. 2.ความรู้และประสบการณ์

2.3. 3.ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

2.4. 4.คาูมีบทบาทการจัดบริบทการเรียนรู้

2.5. 5.ผู้เรียนเป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน

2.5.1. -มนุษย์สร้างความรู้ผ่านกิจกรรมการไตรตรอง

2.5.1.1. ขั้น 1 ความอยากรู้อยากเห็น

2.5.1.2. ขั้น 2 การปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน

2.5.1.3. ขั้น 3 ความขัดแย้งทางปัญญานำมาไตร่ตรอง

2.5.1.4. ขั้น 4 ไตร่ตรองกรัตุ้นให้เกิดการจัดโครงสร้างใหม่ทางปัญญา

2.5.1.5. ขั้น 5 จากประสบการณ์จะทำให้ผู้เรียนควบคุมและสร้างพลังความรู้ให้กับตนเอง

2.5.2. -สร้างความรู้ของผู้เรียนแต่ละคน

2.5.3. -องค์ประกอบที่สำคัญในการสอน

3. ทฤษฎีการเรียนคณิตศาสตร์ของดีนส์

3.1. 1.ความพร้อมทางวุฒิภาวะ ประสบการณ์

3.2. 2.ฝึกฝนบ่อยๆ

3.3. 3.เสริมแรงที่เหมาะสมและเพียงพอ

3.4. 4.การสื่อสารการเรียนที่เหมาะสม

3.4.1. -กฎของภาวะสมดุล

3.4.1.1. ขั้นพื้นฐานของผู้เรียนกับมโนทัศน์ในรูปไม่มีโครงร้าง

3.4.1.2. ขั้นผู้เรียนไปพบกับกิจกรรม

3.4.1.3. ขั้นผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

3.4.2. -กฎความหลากหลายของการรับรู้

3.4.3. -กฎความหลากหลายทางคณิตศาสตร์

3.4.4. -กฎการสร้าง

4. ทฤษฎีการเรียนการสอนของบรูเนอร์

4.1. 1.จัดโครงสร้างให้สอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก

4.2. 2.จัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสม

4.3. 3.คิดหาเหตุผลอย่างอิสระ

4.4. 4.แรงจูงใจภายใน

4.5. 5.สร้างความคิดรวบยอดอย่างเหมาะสม

4.6. 6.ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง

4.6.1. ระดับที่มีประสบการณ์ตรงและสัมผัส

4.6.2. ระดับของการใช้ภาพและสื่อในการมองเห็น

4.6.3. ระดับของการสร้างความสัมพันธ์และให้สัญลักษณ์แทนสิ่งที่มองเห็น

5. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย

5.1. 1.ข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์

5.2. 2.ทักษะทางคณิตศาสตร์

5.3. 3.มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์

5.4. 4.หลักการทางคณิตศาสตร์

5.4.1. การเรียนรู้สัญญาณ

5.4.1.1. การเรียนรู้สิ่งเร้า

5.4.2. การเรียนแบบลูกโซ่

5.4.2.1. การเรียนรู้โดยใช้การสัมพันะ์ทางภาษา

5.4.3. การเรียนแบบจำแนกความแตกต่าง

5.4.3.1. การเรียนรู้มโนทัศน์

5.4.4. การเรียนกฎ

5.4.4.1. การเรียนรู้การแก้ปัญหา