แนวคิดและทฤษฎีด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ( Concepts and Theories of Public Administration )

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดและทฤษฎีด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ( Concepts and Theories of Public Administration ) by Mind Map: แนวคิดและทฤษฎีด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ( Concepts and Theories of Public Administration )

1. 3. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ : NPM

1.1. ลักษณะสำคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหม่

1.1.1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน

1.1.2. การลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน

1.1.3. การกำหนดการวัดและให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงาน

1.1.4. การสร้างระบบสนับสนุน

1.1.5. การเปิดกว้างต่อแนวคิดเกี่ยวกับการแข่งขัน

1.2. แนวคิดทฤษฎีการจัดการภาครัฐแนวใหม่

1.2.1. เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่

1.2.1.1. ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Public Choice Theory)

1.2.1.2. ทฤษฎีตัวการ-ตัวแทน (Principal-Agent Theory)

1.2.1.3. ทฤษฎีต้นทุนธุรกรรม (Transactions Cost Theory)

1.2.2. ทฤษฎีการจัดการนิยม

1.2.2.1. แนวความคิดของ Taylor

1.2.2.1.1. ทฤษฎีการจัดการนิยมที่เน้นวัตถุประสงค์

1.2.2.1.2. ผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงาน

1.2.2.1.3. ผลผลิต output / ผลลัพธ์ outcome

1.2.2.1.4. การพัฒนาคุณภาพ

1.3. องค์ประกอบของการจัดการภาครัฐแนวใหม่

1.3.1. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ Pollitt

1.3.2. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ OECD

1.3.3. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ Hood

1.3.4. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ Osborne and Gaebler

1.3.5. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ Hughes

2. 4.ระบบอภิบาล ( Governance )

2.1. คำนิยามของ governance

2.1.1. การลดขนาดของรัฐ

2.1.1.1. การใช้กลไกตลาดหรือกึ่งตลาดในการส่งมอบบริการสาธารณะ

2.1.2. บรรษัทภิบาล

2.1.2.1. ระบบในการกำกับและควบคุมองค์การ

2.1.3. การจัดการภาครัฐแนวใหม่

2.1.3.1. การจัดการนิยม

2.1.3.2. เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันแนวใหม่

2.1.4. ธรรมาภิบาล

2.1.4.1. จัดบริการสาธารณะให้กับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.1.5. ระบบสังคมไซเบอร์

2.1.5.1. รัฐบาล ท้องถิ่น อาสาสมัคร เอกชน และส่วนต่างๆมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

2.1.6. เครือข่าย

2.1.6.1. ประชาชนได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสาร

2.2. แนวคิดของ

2.2.1. Jan Kooiman

2.2.1.1. อภิบาลแบบจัดการตนเอง

2.2.1.2. อภิบาลแบบร่วมมือกัน

2.2.1.3. อภิบาลแบบการปกครองตามลำดับชั้น

2.2.2. Provan and Kennis

2.2.2.1. มิติแรก - เครือข่ายที่เน้น หรือไม่เน้นตัวกลาง

2.2.2.2. มิติที่สอง - เครือข่ายที่ร่วมกันบริหาร หรือเครือข่ายที่บริหารจากองค์การภายนอก

2.2.3. Trieb, Bahr and Falkner

2.2.3.1. มิติในเชิงนโยบาย

2.2.3.2. มิติทางการเมือง

2.2.3.3. มิติทางการปกครอง

2.2.4. Bekkers, Dijkstra, Edwards and Fenger

2.2.4.1. อภิบาลแบบระดับของการควบคุม

2.2.4.2. อภิบาลแบบหลายระดับ

2.2.4.3. อภิบาลแบบตลาด

2.2.4.4. อภิบาลแบบเครือข่าย

2.2.4.5. อภิบาลแบบจัดการตนเอง

2.2.5. Borzel and Risse

2.2.5.1. รูปแบบระบบอภิบาลโดยรัฐ

2.2.5.2. รูปแบบระบบอภิบาลโดยปราศจากรัฐ

2.2.6. Robichau

2.2.6.1. แบบเครือข่าย

2.2.6.2. แบบการปกครองตามลำดับชั้น

2.2.6.3. แบบตลาด

3. 5.การบริการสาธารณะใหม่ : NPS

3.1. พื้นฐานของแนวคิดทฤษฎีการบริการสาธารณะใหม่

3.1.1. หลักมนุษยนิยม

3.1.1.1. ให้ความสำคัญกับปัญหาและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกองค์การ

3.1.2. ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม

3.1.2.1. การใช้กลไกความร่วมมือของชุมชนและประชาสังคมในการแก้ปัญหาสาธารณะ

3.1.3. ความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย

3.1.3.1. รัฐมีหน้าที่ช่วยเสริมสร้างประโยนช์องส่วนรวม และเน้นเรื่องสิทธิความเป็นพลเมือง

3.1.4. รัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังสมัยใหม

3.1.4.1. เน้นที่คตินิยมแนวการตีความและค่านิยมมากกว่าข้อเท็จจริง

3.2. หัวใจสำคัญของแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่

3.2.1. ประโยชน์ต่อสาธารณะ

3.2.2. รัฐสร้างความต้องการของประชาชน

3.2.3. เน้นเชิงยุทธ์ศาสตร์และวืถีประชาธิปไตย

3.2.4. ต้องไม่เหลื่อมล้ำ

3.2.5. รัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน

3.2.6. รัฐต้องเชื่อมโยงหลากหลายภาคส่วน

3.2.7. เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน

3.2.8. ไม่เน้นการสร้างนักการเมืองแต่เน้นการสร้างพลเมือง

3.2.9. บทบาทข้าราชการคือเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมสาธารณะ

4. 1. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในยุคดั้งเดิม : OPA

4.1. การบริหารแยกจากการเมือง

4.1.1. Woodrow Wilson ในปี ค.ศ.1887

4.1.2. Frank J. Goodnow ในปี ค.ศ.1900

4.1.3. Leonard D. White ในปี ค.ศ.1926

4.2. องค์การขนาดใหญ่ที่มีแบบแผนหรือทฤษฎีระบบราชการ

4.2.1. Max Weber

4.2.1.1. รูปแบบระบบราชการในอุดมคติ

4.2.1.1.1. องค์การที่เป็นทางการ , ไม่เน้นความสัมพันธ์ส่วนตัว

4.2.1.1.2. มีสายการบังคับบัญชาตามลำดับชั้น , การเก็บรักษาความลับ

4.2.1.1.3. รูปแบบการสั่งการจากบนลงล่าง , ระบบคุณธรรม

4.2.1.1.4. การยึดถือในกฎระเบียบ , แบ่งงานกันทำอย่างชัดเจน

4.2.1.1.5. องค์การของรัฐถือเป็นอาชีพที่มีความมั่นคง

4.2.2. Gordon and Milakovich

4.2.2.1. ระบบราชการไว้ 5 ประเด็น

4.2.2.1.1. หลักการแบ่งงานกันทำและความชำนาญเฉพาะทาง

4.2.2.1.2. ลำดับชั้น

4.2.2.1.3. กรอบในลักษณะทางการของกระบวนการและกฎเกณฑ์

4.2.2.1.4. การรักษาบันทึกต่างๆและแฟ้มงาน

4.2.2.1.5. ความเป็นวิชาชีพ

4.3. การจัดการแบบวิทยาศาสตร์

4.3.1. Frederick W. Taylor ในปี ค.ศ.1911

4.3.2. ได้เขียนหนังสือชื่อ " The Principles of Scientific Management"

4.4. หลักการบริหาร

4.4.1. Mary Parker Follete ในปี ค.ศ.1920

4.4.1.1. 3 แนวทาง

4.4.1.1.1. การประนีประนอม

4.4.1.1.2. การบริหารงานต้องสร้างกระบวนการคิด

4.4.1.1.3. การรวมตัว

4.4.2. Henry Fayol ในปี ค.ศ.1916

4.4.2.1. 5 ประการ

4.4.2.1.1. POCCC

4.4.3. Luther Gulick & Lyndall Urwick ในปี ค.ศ.1937

4.4.3.1. ประกอบด้วย

4.4.3.1.1. POSDCoRB

4.4.4. James Mooney & Alan Reiley ในปี ค.ศ. 1931

4.4.4.1. หลักการบริหารที่เป็นสากล

4.4.4.1.1. หลักการประสานงาน

4.4.4.1.2. หลักสายการบังคับบัญชา

4.4.4.1.3. หลักการแบ่งงานตามหน้าที

4.4.4.1.4. หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน

4.5. การจัดการเชิงมนุษยสัมพันธ์และมนุษยนิยม

4.5.1. มี 2 กลุ่ม

4.5.1.1. สำนักมนุษยสัมพันธ์

4.5.1.1.1. Elton Mayo

4.5.1.2. สำนักมนุษยนิยม

4.5.1.2.1. Abraham H. Maslow

4.5.1.2.2. Douglas M. McGregor

4.5.1.2.3. Frederick Herzberg

4.5.1.2.4. Chris Agyris

4.6. การบริหารคือการเมือง

4.6.1. Avery Leiserson and Fritz Morstein Marx ในปี ค.ศ.1946

4.6.1.1. ฝ่ายบริหารและฝ่ายการเมืองที่สัมพันธ์ เชื่อมโยง และไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด

4.6.2. Norton E. Long ในปี ค.ศ.1949

4.6.2.1. อำนาจทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการล้วนมีส่วนทำให้นักบริหารมีความมั่นคง โดยจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

4.6.3. Paul Appleby ในปี ค.ศ.1949

4.6.3.1. ทั้งสองส่วนมีความเชื่อมโยงกันและทำหน้าที่ทั้งกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน

4.7. ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ

4.7.1. Robert Michels ในปี ค.ศ.1962

4.7.2. Robert K. Merton ในปี ค.ศ. 1952

4.7.2.1. 3 ประเด็น

4.7.2.1.1. ลักษณะองค์การที่เป็นทางการ

4.7.2.1.2. โครงสร้างองค์การขนาดใหญ่ที่มีแบบแผน

4.7.2.1.3. ระบบราชการมีข้อบกพร่อง

4.7.3. Alvin N. Gouldner ในปี ค.ศ.1954

4.7.3.1. 2 สถานะ

4.7.3.1.1. ระบบราชการเป็นการบริหารที่ขึ้นอยู่กับความชำนาญพิเศษ

4.7.3.1.2. ระบบราชการเป็นการบริหารที่ขึ้นอยู่กับวินัย

4.7.4. Phillip P. Selznick ในปี ค.ศ. 1930

4.7.5. Michel Crozier ในปี ค.ศ.1964

4.8. ศาสตร์การบริหาร

4.8.1. Chester I. Barnard ช่วงระหว่างปี ค.ศ.1886-1961

4.8.1.1. 3 ประการ

4.8.1.1.1. องค์การจะบรรลุเป้าหมายได้จำเป็นที่คนจะต้องร่วมมือกัน

4.8.1.1.2. องค์การแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ สองสิ่งนี้ต้องอยู่คู่กันคอยพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

4.8.1.1.3. สภาพแวดล้อมขององค์การ

4.8.1.1.4. เสนอหน้าที่ของฝ่ายบริหาร

4.8.2. Herbert Simon ช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1946

4.8.2.1. 2 ประการ

4.8.2.1.1. เหตุผลหรือหลักฐานในการตัดสินใจ

4.8.2.1.2. คนไม่สามารถใช้เหตุผลได้อย่างเต็มที่สมบูรณ์แบบ เนื่องจากมีข้อจำกัดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจิตใจสภาพแวดล้อมทางสังคมและความรู้

5. 2.รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ : NPA

5.1. ทางเลือกสาธารณะ

5.1.1. คือทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย

5.1.1.1. ลักษณะและสาเหตุของวิกฤตการณ์ในวิชารัฐประศาสนศาสตร์

5.1.1.2. แนวคิดจากเศรษฐศาสตร์การเมืองมาช่วยแก้ไขปัญหา

5.1.1.3. ปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตยมาใช้

5.1.1.4. ข้อสมมติฐานแนวคิดการบริหารแบบประชาธิปไตย

5.1.1.5. ผลของความคิดทางเลือกสาธารณะ

5.2. นโยบายสาธารณะ

5.2.1. การประเมินผลนโยบาย

5.2.1.1. ปัจจัยเบื้องต้น

5.2.1.2. กระบวนการ

5.2.1.3. สภาพแวดล้อม

5.2.1.4. ผลลัพธ์

5.2.2. การกำหนดนโยบาย

5.2.2.1. Easton

5.2.2.1.1. ปัจจัยนำเข้า ( inputs )

5.2.2.1.2. ดำเนินการ ( process )

5.2.2.1.3. ผลผลิต ( output )

5.2.2.1.4. ผลสะท้อนกลับ ( feedback )

5.2.2.2. Lindblom

5.2.2.2.1. 2 ประเด็น

5.2.2.3. Peters

5.2.2.3.1. รัฐบาลที่มีความยืดหยุ่น

5.2.2.3.2. รัฐบาลแบบการตลาด

5.2.2.3.3. รัฐบาลแบบการมีส่วนร่วม

5.2.2.3.4. รัฐบาลที่ลดกฎเกณฑ์

5.2.2.4. Dye

5.2.2.4.1. ตัวแบบทางเลือกสาธารณะ , ตัวแบบกระบวนการ , ตัวแบบผู้นำ

5.2.2.4.2. ตัวแบบระบบ , ตัวแบบสถาบัน , ตัวแบบกลุ่ม

5.2.2.4.3. ตัวแบบทฤษฎีเกม , ตัวแบบหลักเหตุผล , ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป

5.2.3. ทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติ

5.2.3.1. 3 ทฤษฎี

5.2.3.1.1. การนำนโยบายไปปฏิบัติแบบผสมผสาน (hybrid theories)

5.2.3.1.2. การนำนโยบายไปปฏิบัติแบบล่างขึ้นบน ( bottom-up theories )

5.2.3.1.3. การนำนโยบายไปปฏิบัติแบบบนลงล่าง ( top-down theories )