การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ Fever, cough, asthma syndrome

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ Fever, cough, asthma syndrome by Mind Map: การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ Fever, cough, asthma syndrome

1. การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน(Upper Respiratory Tract Infection: URI)

1.1. Common cold

1.1.1. Signs& Symptom

1.1.1.1. เจ็บหรือระคายคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล ต่อมาด้วยอาการไอ

1.1.1.2. มีไข้<38Cมีเสมหะในคอ

1.1.1.3. อาการไข้และเจ็บคอมักเป็นไม่เกิน 1-3 วัน

1.1.2. PE.

1.1.2.1. พบน้ำมูกใสและขุ่น, Turbinate บวมแดง

1.1.2.2. Pharynx injected มี granular หรือ nodular

1.1.2.3. แต่ไม่มี exudative patch,Tonsil enlarged แต่ไม่มี exudate

1.1.3. การรักษาพยาบาล

1.1.3.1. ให้Paracetamol,CPM,M. Tussive คำแนะนำ :น้ำเกลือหยอดจมูก/ล้างจมูก ,ให้พักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ ,การลดไข้ทำด้วยการเช็ดตัว

1.2. Influenza

1.2.1. Signs& Symptom

1.2.1.1. Fever 38.5 – 4 0 c

1.2.1.2. Muscle pain

1.2.1.3. Rhinorrhea, headache, Anorexia

1.2.1.4. อาการไข้ ประมาณ 1-4 วัน

1.2.2. การรักษาพยาบาล

1.2.2.1. รับยาต้านไวรัส,ให้พักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ

1.3. Tonsilitis

1.3.1. การรักษาพยาบาล

1.3.1.1. Mouth care

1.3.1.2. ATB 5 วัน : Pen V./ Amoxicillin/ Erythromycin

1.4. Acute bronchitis

1.4.1. Signs& Symptom:

1.4.1.1. ไข้ต่ำ ไอ หอบ เหนื่อย เจ็บหน้าอก

1.4.2. การรักษาพยาบาล

1.4.2.1. พักผ่อน ดื่มน้ำอุ่น

1.4.2.2. ไอ ให้ยา M. Ammon carb

1.4.2.3. กรณีติดเชื้อแบททีเรีย ให้ Amoxicillin

1.5. Croup/Laryngotracheobronchitis

1.5.1. Signs& Symptom

1.5.1.1. ไข้ ไอเสียงก้อง สะดุ้งตื่นกลางคืน ดีขึ้นในเวลา กลางวัน

1.5.2. การรักษาพยาบาล

1.5.2.1. ให้ Oxygen

1.6. Bronchiolitis

1.6.1. Signs& Symptom

1.6.1.1. เหมือนไข้หวัด คือ ไข้สูง ไอ น้ำมูก 2-5 วันต่อมาไอรุนแรง หอบ ตัวเขียว ซึมลง

1.6.1.2. ชีพจร เร็ว

1.6.2. การรักษาพยาบาล

1.6.2.1. ให้oxygen

1.6.2.2. Refer ด่วน

1.7. Chronic Obstructive Pulmonary Disease ( COPD)

1.7.1. Signs& Symptom:

1.7.1.1. ไอเสมหะเหนียวหรืออาจไม่มีเสมหะหอบเหนื่อย

1.7.1.2. Dyspnea,pursedlip,การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ

1.7.1.3. Barrel shape, Prolong expiratory time, Wheezing

1.7.1.4. Clubbing finger

1.7.2. การรักษาพยาบาล

1.7.2.1. Refer ด่วน

1.7.2.2. Refer ด่วน

1.8. Pneumonia

1.8.1. Signs& Symptom

1.8.1.1. ไข้ ไอ หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก

1.8.2. การักษาพยาบาล

1.8.2.1. O2,Clear air way

1.8.2.2. Refer ด่วน

1.9. Asthma

1.9.1. การรักษาการพยาบาล

1.9.1.1. ให้พ่นยา MDI

1.9.1.2. Refer

1.9.2. Signs&Symptom

1.9.2.1. มีเสียงwheezingแน่นหน้าอก(chesttightness)

1.9.2.2. หายใจหอบ หายใจลำบาก(breathlessness) ช่วงหายใจออก

1.9.2.3. ไอเป็นๆหายๆ โดยเฉพาะในเวลากลางคืนและรุ่งเช้า

1.10. Pulmonary Tuberculosis(TB)

1.10.1. Signs& Symptom

1.10.1.1. ไข้ต่ำๆไอ > 2 wk

1.10.1.2. น้ำหนักหนักลด

1.10.2. การรักษาการพยาบาล

1.10.2.1. Refer

1.11. Sinusitis

1.11.1. Signs& Symptom

1.11.1.1. ปวดใบหน้า บริเวณโพรงไซนัส โหนกแก้มรอบกระบอกตา

1.11.1.2. คัดแน่นจมูก มีน้ำมูก มีหนองข้นเขียว ปวดศีรษะ ไข้ อ่อนเพลีย

1.11.1.3. หายใจมีกลิ่นเหม็น

1.11.2. การรักษาพยาบาล

1.11.2.1. รักษาตามอาการ,ล้างจมูก

1.11.2.2. Amoxycillin นาน10-14วัน ถ้าแพ้

1.12. Pneumothorax

1.12.1. Signs& Symptom

1.12.1.1. เหนื่อยหอบเจ็บหน้าอกแปล๊บๆเกิดขึ้นทันทีทันใดมักเจ็บหน้าอก ข้างเดียว

1.12.1.2. หอบเหนื่อยหายใจลำบากเสียงbreathsoundลดลงข้างที่เป็น โรค Tracheal shift

1.12.2. การรักษาการพยาบาล

1.12.2.1. ดูแลภาวะฉกุเฉินABCs

1.12.2.2. พิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

1.12.2.3. Refer

1.13. Hyperventilation Syndrome

1.13.1. Signs& Symptom

1.13.1.1. หายใจในกรวยกระดาษ,ถุงพลาสติก

1.13.1.2. หายใจหอบลึก มือจีบเกร็ง ทั้งสองข้าง

1.13.2. การรักษาพยาบาล

1.13.2.1. Control breathing

1.13.2.2. Refer

1.14. Pertussis

1.14.1. Signs& Symptom

1.14.1.1. ระยะเป็นหวัด มีไข้ต่ำๆ น้ำมูก ไอ จามคล้ายหวัด 7-14 วัน

1.14.1.2. ระยะไอรุนแรง ไอติดต่อนาน หายใจเข้ามีสียงวู้บ

1.14.2. การรักษาพยาบาล

1.14.2.1. ในรายที่ไม่มี Complication ให้ Erythomycin

1.14.2.2. จิบ น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้ง

1.14.2.3. ดื่มน้ำอุ่น

1.14.2.4. Refer ถ้าอาการแสดงมากกว่า 1 wk.

2. การวินิจฉัยแยกกลุ่มโรค

2.1. กลุ่ม Fever&Cough

2.1.1. เจ็บคอ ,ไข้ต่ำ

2.1.1.1. Dx. Pulmonary Tuberculosis (TB)

2.1.1.1.1. เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ไอเรื้อรังเป็นเดือน

2.1.1.1.2. PE: Lung พบ Crepitation

2.1.1.2. Dx. Common cold

2.1.1.2.1. ครั่นเนื้อ ครั่นตัว อ่อนเพลีย คัดจมูก น้ำมูกใส ไอแห้ง มีเสมหะขาว

2.1.1.2.2. PE: Lung Clear

2.1.1.3. Dx. Pharyngitis ,Tonsilitis

2.1.1.3.1. ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ไอมีเสมหะ มีน้ำมูก

2.1.1.3.2. PE: Tonsil enlarge, คอแดง

2.1.1.4. Dx. Mumps

2.1.1.4.1. เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวดในรูหู/หลังใบหู

2.1.1.4.2. PE: Lymnode enlarge

2.1.2. ไข้สูง

2.1.2.1. Dx.Influenza

2.1.2.1.1. ปวดเมื่อกกล้ามเนื้อมาก อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คัดจมูก น้ำมูกใส ไอ แห้งๆ

2.1.2.1.2. PE: Nose พบ Swellen

2.1.2.2. Dx. Measles

2.1.2.2.1. ไข้สูงตลอด เบื่ออาหาร น้ำมูกใส กระสับกระส่าย ไอแห้งๆ ตาแดง น้ำตาไหล

2.1.2.2.2. PE: Koplik’s spot ที่กระพุ้งแก้ม

2.1.3. Dx. Pharyngotonsillitis

2.1.3.1. เจ็บคอเวลากลืนอาหาร กลืนน้ำลายลำบาก คอแห้ง

2.1.3.2. PE: คอแดง(จากเชื้อไวรัส) ถ้าเกิดจากเชื้อแบททีเรีย คอแดงมาก ทอลซิลโตมาก ในเด็กคลำต่อมน้าเหลืองได้ บริเวณคอ

2.1.4. Dx. Diphtheria พบในเด็ก1-10ปี

2.1.4.1. มีประวัติสัมผัสโรค ครั่นเนื้อครั่นตัว เจ็บคอ เสียงแหบ หายใจลำบาก หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ไม่เคยได้รับ การฉีดวัคซีนไอกรน/ฉีดไม่ครบ

2.2. กลุ่มไข้ และหายใจเหนื่อย / หายใจลำบาก

2.2.1. ไข้ต่ำ,ไข้สูง,มีไข้,ไม่มีไข้

2.2.1.1. Dx. Acute Bronchitis

2.2.1.1.1. ไอแห้งๆ หรือมีเสมหะ ไอมากเวลากลางคืน เป็นมา 1-4 wks.

2.2.1.1.2. PE: Lung พบ Rhonchi/Wheezing, Decrease breath sound, hyperrenance

2.2.1.2. Dx. Pneumonia

2.2.1.2.1. หนาวสั่น ไอแห้ง/มีเสมหะ

2.2.1.2.2. PE: Lung พบ Crepitation

2.2.1.3. Dx. Bronchiolitis

2.2.1.3.1. เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม

2.2.1.3.2. PE: Lung พบ Wheezing

2.2.1.4. Dx. Asthma

2.2.1.4.1. ไอมีเสมหะ มีเสลดเหนียว อาจมีคัดจมูก คันคอเป็นหวัด จามนำมา ก่อน ไอมากเวลากลางคืน

2.2.1.4.2. PE: Lung พบ Wheezing

2.3. กลุ่มไข้ต่ำๆ ไอติดต่อกันนาน

2.3.1. Dx. Pertussis (ไอกรน)

2.3.1.1. ถ้าหยุดไอจะหายใจนาน พบในเด็ก

2.3.1.2. PE: อาจมีตาขาวแดงจาดเส้นเลือดฉีกขาด

2.4. กลุ่มไม่มีไข้ หวัด คัดจมูก

2.4.1. Dx. Allergic Rhinitis ,Hay fever

2.4.1.1. น้ำมูกใส จามบ่อย คันในจมูก น้ำตาไหล คันตา แสบตา มัก มีอาการตอนเช้า/อากาศเย็น สัมผัสฝุ่นละออง/แพ้สารต่างๆ

2.4.1.2. PE: พบเยื่อบุจมูกบวม และซีด

2.4.2. Dx. Sinusitis

2.4.2.1. เป็นหวัดเรื้อรัง ปวดมึนๆ หนักๆ บริเวณหัวตา หน้าผาก โหนกแก้ม รอบๆกระบอกตา มักมีอาการตอนเช้า/เวลาก้ม ศีรษะ เปลี่ยนท่า เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียว ในลำคอ

2.4.2.2. PE: พบเยื่อจมูกบวมแดง เคาะปวดบริเวณโพรงไซนัส

2.5. กลุ่มไข้ต่ำๆไอเสียงแหบ (Barking) ไอเวลากลางคืน มากกว่ากลางวัน

2.5.1. พบในเด็ก 6m.– 3y.

2.5.2. Dx. Croup

2.5.2.1. เมื่อหยุดไอ จะหายใจยาวมาก มักมีอาเจียนร่วมกับไอ น้ำมูกใส หายใจมีเสียง Stridor ตัวขียว

2.5.2.2. PE: Lung พบ Rhonchi & Wheezing คอบริเวณ หลอดลมบุ๋ม ซี่โครงบุ๋ม Subcostal retraction

2.6. กลุ่มไข้สูง 39- 40C,ไข้ต่ำ,ไม่มีไข้,ไอ, เจ็บหน้าอก แปล๊บ เวลาหายใจเข้า หรือแรงๆ

2.6.1. Dx. Pneumonia

2.6.1.1. อาจหายใจเร็ว หอบเหนื่อย ไข้ มักเกิดเฉียบพลัน ไอ แห้งๆเป็นพัก ต่อมามีเสมหะ

2.6.1.2. PE: Lung พบ Crepitation/Wheezing/Rhonchi

2.6.1.3. เคาะ พบ dullness, ฟัง พบ diminished breath sound

2.7. กลุ่มไม่มีไข้,ไอแห้งๆ, หอบมาก เจ็บหน้าอก เป็นครั้งคราว

2.7.1. Dx. Pneumothorax

2.7.1.1. Trachea เบียวไปด้านตรงข้าม หากปล่อยไว้นาน

2.7.1.2. PE: เคาะโปร่งกว่าอีกขางฟังเสียงปอดไม่ได้ยิน

2.8. กลุ่มไม่มีไข้

2.8.1. หอบ,หายใจเร็ว

2.8.1.1. Dx. Hyperventilation syndrom

2.8.1.1.1. หายใจหอบลึก มือจีบ เกร็ง ทั้ง 2 ข้างหลังมีเรื่องขัดใจ

2.8.1.1.2. PE: Lung clear

2.8.2. หอบเหนื่อย,ไอ

2.8.2.1. Dx. Chronic Obstructive Pulmonary Disease ( COPD)

2.8.2.1.1. อายุมากกว่า 40 ปี ไอมีเสมหะหรือไม่มีเสมหะ

2.8.2.1.2. PE: Dyspnea, pursed lip, การใช้กล้ามเนื้อช่วย หายใจ, Barrel shape, Prolong expiratory time, Wheezing, Clubbing finger

2.9. กลุ่มไข้,เหนื่อยหอบ,ไอ

2.9.1. Dx. COVID – 19

2.9.1.1. ไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก เหนื่อยหอบ หลังเดินทาง ไป พื้นที่มีการระบาด ของ โคโรนา ไวรัส ภายใน 14 วัน

3. cough

3.1. อาการไอ เป็นปฎิกิริยาหนึ่งที่ร่างกาย ขับสิ่งแปลกปลอมออก มักเกิดร่วมกับโรค หรือภาวะต่างๆ

3.2. สาเหตุ

3.2.1. การติดเชื้อ

3.2.2. การคั่งค้างของเสมหะ

3.2.3. อากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด

3.2.4. การสูดดมสารเคมี

3.3. ลักษณะของการไอ

3.3.1. 1. ไอคล้ายเสี่ยงเห่า (Barkilg cough) เกิดจากกล่องเสียงอักเสบ จะมีอาการ ไอแบบแห้งๆ เสียงก้อง

3.3.2. 2. ไอกรน (Whooping cough) หลังจากไอเป็นชุด จะมีเสียง “วู๊บ” จาก การหายใจเข้าเร็ว และเต็มที่ พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ

3.3.3. 3. ไอแบบมีเสียงหยาบ (Harsh) พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ จากหลอดลม แห้ง เจ็บ อาจมีเสมหะ ซึ่งมีลักษณะใส หรือขาวข้น ปนหนอง

4. asthma syndrome

4.1. สังเกตอาการผิดปกติ

4.1.1. สีผิวโดยเฉพาะริมฝีปาก ( Cyanosis )

4.1.2. ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Accessory muscle )

4.1.3. เหงื่อออกมาก ( Sweating )

4.1.4. Conscious change

4.1.5. นอนราบไม่ได้ ( Chest discomfort )

4.2. อาการ : ผู้ป่วยหายใจสั้น หายใจลำบาก หรือหายใจไม่อิ่ม หรือหายใจแล้วมีเสียงวี้ด

5. Fever

5.1. อุณหภูมิกาย : คือ 35.5 – 37.4C

5.2. สาเหตุของการเกิดไข้

5.2.1. 1. การบาดเจ็บของประสาทส่วนกลาง ที่กระทบต่อ Set point โดยตรง เช่น เนื้องอกใน สมอง เส้นเลือดสมองแตก

5.2.2. 2. การติดเชื้อโรคต่างๆ

5.2.3. 3. การได้รับบาดเจ็บ

5.2.4. 4. โรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งต่อมน้าหลือง

5.2.5. 5. ความผิดปกติของระบบเลือด

5.2.6. 6. โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ

5.3. ระดับของไข้

5.3.1. 1.ไข้ต่ำ(Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 C

5.3.2. 2. ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 C

5.3.3. 3. ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 C

5.3.4. 4. ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 C. ขึ้นไป