นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ by Mind Map: นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้

1. นางสาวสุภาวดี ทองคำ 624102028

2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ

2.1. นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึ้น

2.1.1. หลักในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม

2.1.1.1. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัย

2.1.1.2. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน

2.1.2. นวัตกรรมแบ่งออกเป็น 3 ระยะ

2.1.2.1. ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น

2.1.2.2. ระยะที่ 2 พัฒนาการ(มีการทดลองในแหล่งทดลอง)

2.1.2.3. ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป

2.1.3. ประเภทของนวัตกรรม

2.1.3.1. นวัตกรรมที่เป็นสิ่งใหม่หมด

2.1.3.2. นวัตกรรมที่เป็นสิ่งใหม่บางส่วน

2.1.4. นวัตกรรมการศึกษา

2.1.4.1. หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

2.1.4.1.1. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา

2.1.4.1.2. แนวคิดพื้นฐาน

2.2. เทคโนโลยี หมายถึง การใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา

2.2.1. เทคโนโลยีทางการศึกษา

2.2.1.1. หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้น

2.2.1.1.1. องค์ประกอบ

2.2.1.1.2. เป้าหมาย

2.2.1.1.3. ประโยชน์ในการจัดการศึกษา

2.3. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

2.3.1. ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการจัดเก็บรวบนวมข้อมูลซึ่งทำให้เป็นสารสนเทศ การจัดเก็บและการนำเสนอสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันเหตุการณ์

2.3.1.1. แหล่งที่มาของสารสนเทศ

2.3.1.1.1. ข้อมูลภายใน

2.3.1.1.2. ข้อมูลภายนอก

2.3.1.2. ประเภทของสารสนเทศ

2.3.1.2.1. ปฐมภูมิ

2.3.1.2.2. ทุติยภูมิ

2.3.1.2.3. ตติยภูมิ

2.3.1.3. แนวทางในการจัดทำระบบสารสนเทศ

2.3.1.3.1. การเก็บรวบรวมข้อมูล

2.3.1.3.2. การตรวจสอนข้อมูล

2.3.1.3.3. การประมวลผล

2.3.1.3.4. การจัดเก็บข้อมูล

2.3.1.3.5. การวิเคราะห์

2.3.1.3.6. การนำไปใช้

2.3.1.4. ประโยชน์ของสารสนเทศ

2.3.1.4.1. ให้ความรู้ทำให้เกิดความคิดและความเข้าใจ

2.3.1.4.2. ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน

2.3.1.4.3. ใช้ประกอบการตัดสินใจ

2.3.1.4.4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์

2.3.1.4.5. เพื่อให้การทำงานมีระบบ

3. ทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี

3.1. หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา

3.1.1. ทฤษฎีการเรียนรู้

3.1.1.1. กลุ่มพฤติกรรม

3.1.1.2. กลุ่มความรู้

3.1.2. ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล

3.1.3. ทฤษฎีการพัฒนาการ

3.2. ทฤษฎีการสื่อสาร

3.2.1. ผู้ส่งสาร

3.2.2. สื่อหรือช่องทางในการรับสาร

3.2.3. ผู้รับสาร

3.3. ทฤษฎีระบบ

3.3.1. คุณลักษณะของระบบ

3.3.1.1. ส่วนต่างๆ ของระบบจะอยู่ในสถานะที่เคลื่อนไหวได้

3.3.1.2. การเคลื่อนไหวของส่วนต่างๆ จะมีปฏิกิริยากระทบต่อกันเสมอเมื่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้มีลักษณะรวมตัวอยู่ด้วยกัน

3.4. ทฤษฎีการเผยแพร่

3.4.1. เกิดจากการผสมผสานทฤษฎีหลักการและความรู้ความจริงจากหลายสาขาวิชาที่มีศาสตร์เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่

3.5. ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่

3.5.1. การจูงใจ

3.5.2. การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

3.5.3. การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ

3.5.4. ความสามารถในการจำ

3.5.5. ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว

3.5.6. การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว

3.5.7. การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้

3.5.8. การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน

3.6. การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom’s Taxonomy 6 ขั้น

3.6.1. ความรู้ที่เกิดจากความจำ

3.6.2. ความเข้าใจ

3.6.3. การประยุกต์

3.6.4. การวิเคราะห์

3.6.5. การสังเคราะห์

3.6.6. การประเมินค่า

4. การสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน

4.1. ประเภทของการสื่อสาร

4.1.1. จำนวนผู้ทำการสื่อสาร

4.1.1.1. การสื่อสารภายในตัวบุคคล

4.1.1.2. การสื่อสารระหว่างบุคคล

4.1.1.3. การสื่อสารกลุ่มใหญ่

4.1.1.4. การสื่อสารในองค์กร

4.1.1.5. การสื่อสารมวลชน

4.1.2. การเห็นหน้ากัน

4.1.2.1. แบบเผชิญหน้า

4.1.2.2. แบบไม่เผชิญหน้า

4.1.3. ความสามารถในการโต้ตอบ

4.1.3.1. การสื่อสารทางเดียว

4.1.3.2. การสื่อสารสองทาง

4.1.4. ความแตกต่างระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร

4.1.4.1. ระหว่างเชื้อชาติ

4.1.4.2. ระหว่างวัฒนธรรม

4.1.4.3. ระหว่างประเทศ

4.1.5. การใช้ภาษา

4.1.5.1. การสื่อสารเชิงวัจนภาษา

4.1.5.2. การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา

4.2. ความสำคัญของการสื่อสาร

4.2.1. เป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์

4.2.2. ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสังคม

4.2.3. เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทั้งตัวบุคคลและสังคม

4.3. องค์ประกอบของการสื่อสาร

4.3.1. ผู้ส่งสารหรือแหล่งสาร

4.3.2. สาร

4.3.2.1. รหัสสาร

4.3.2.2. เนื้อหาของสาร

4.3.2.3. การจัดสาร

4.3.3. สื่อหรือช่องทาง

4.3.4. ผู้รับสาร

4.4. วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร

4.4.1. แจ้งให้ทราบ

4.4.2. สอนหรือให้การศึกษา

4.4.3. สร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง

4.4.4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ

4.4.5. เพื่อเรียนรู้

4.4.6. เพื่อกระทำหรือตัดสินใจ

4.5. อุปสรรคในการสื่อสาร

4.5.1. เกิดจากสาร

4.5.2. เกิดจากสื่อหรือช่องทาง

4.5.3. เกิดจากผู้รับสาร

5. จิตวิทยาการเรียนการสอน

5.1. การเรียนรู้ คือ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา

5.1.1. ประสบการณ์ตรง

5.1.2. ประสบการณ์ทางอ้อม

5.1.3. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้

5.1.3.1. ด้านพุทธิพิสัย

5.1.3.2. ด้านเจตพิสัย

5.1.3.3. ด้านทักษะพิสัย

5.1.4. องค์ประกอบสำคัญ

5.1.4.1. แรงขับ

5.1.4.2. สิ่งเร้า

5.1.4.3. การตอบสนอง

5.1.4.4. การเสริมแรง

5.1.5. ธรรมชาติของการเรียนรู้

5.1.5.1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ

5.1.5.2. การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้อาศัยวุฒิภาวะ

5.1.5.3. การเรียนรู้เกิดได้ง่าย

5.1.5.4. การเรียนรู้แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน

5.1.6. การถ่ายโยงการเรียนรู้

5.1.6.1. ทางบวก

5.1.6.2. ทางลบ

5.1.7. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ

5.1.7.1. กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง

5.1.7.1.1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข

5.1.7.1.2. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง

5.1.7.2. กลุ่มความรู้ความเข้าใจ

5.1.7.2.1. ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์

5.1.7.2.2. ทฤษฎีสนามของเลวิน

6. การออกแบบการเรียนการสอน

6.1. ระบบ หมายถึง การรวมกลุ่มของส่วนประกอบต่างๆที่มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้

6.1.1. ลักษณะของระบบที่ดี

6.1.1.1. มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

6.1.1.2. มีจุดหมายหรือเป้าประสงค์

6.1.1.3. มีการรักษาสภาพตนเอง

6.1.1.4. มีการแก้ไขตนเอง

6.1.2. ประเภทของระบบ

6.1.2.1. ระบบเปิด

6.1.2.2. ระบบปิด

6.2. การออกแบบการเรียนการสอน

6.2.1. ปัญหาในระบบการเรียนการสอน

6.2.1.1. ด้านทิศทาง

6.2.1.2. ด้านการวัดผล

6.2.1.3. ด้านเนื้อหาและการลำดับเนื้อหา

6.2.1.4. ด้านข้อจำกัดต่างๆ

6.2.2. เป้าหมายหลักของการจัดระบบการเรียนการสอน

6.2.2.1. เพื่อจัดกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน

6.2.2.2. เพื่อออกแบบระบบการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการที่เป็นระบบในการออกแบบ การวางแผน,การนำไปใช้และการประเมินกระบวนการ

7. นางสาวจิรัฐิพร กาสา 624102011