ลักษณะของภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ลักษณะของภาษาไทย by Mind Map: ลักษณะของภาษาไทย

1. เสียงในภาษา

1.1. เสียงสระและรูปสระ

1.1.1. เสียงสระ หรือเรียกว่า “เสียงแท้”เพราะเป็นเสียงที่ไม่ถูกปิดหรือถูกกัน ณ ที่มดที่หนึ่งเลย

1.1.2. เสียงแท้

1.2. เสียงพยัญชนะและรูปพยัญชนะ

1.2.1. พยัญชนะไทยมี 44 รูป หรือ 44 ตัว แต่ใช้เสียงซ้ำกันหลายตัว จึงเหลือเสียงเมื่อเป็นพยัญชนะ 21 เสียง และพยัขท้ายแยง8 เสียง

1.3. เสียงวรรณยุกต์และรูปวรรณยุกต์

1.3.1. เสียงวรรณยุกต์

1.3.1.1. ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ 5 เสียง

1.3.1.2. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ทำให้สามารถสร้างเสียงต่างๆได้มากม่ยกลายเป็นคำที่มีความหมาย และไม่มีความหมาย

1.3.1.3. วรรณยุกต์มี 5 เสียง จะสมบูรณ์จริงเฉพาะการพูด

1.3.2. รูปวรรณยุกต์

1.3.2.1. ภาษาไทยมีรูปวรรณยุกต์ 4 รูป คือ ่ ้ ๊ ๋

1.3.2.2. คำที่มีพยัญชนะต้นสองตัว ได้แก่ อักษรควบ หรืออักษรนำ เช่น กล- คว- ตร- อร-

2. ส่วนประกอบของภาษา

2.1. องค์ประกอบพยางค์

2.1.1. การประสมอักษร 3 ส่วน

2.1.2. การประสมอักษร 4 ส่วน

2.1.3. การประสมอักษร 5 ส่วน

2.2. องค์ประกอบคำ

2.2.1. คำ คือ เสียงที่เปล่งออกม่และมีความหมายอย่างหนึ่งจะเป็นกี่พยางค์ก็ได้

3. ลักษณะสำคัญของภาษาไทย

3.1. คำภาษาไทยแท้ส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว

3.1.1. มีความหมายสมบูรณ์

3.1.2. ใช้เรียกสิ่งต่างๆ

3.1.2.1. เครือญาติ

3.1.2.1.1. พ่อ แม่ ปู่ ย่า พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา

3.1.2.2. ส่วนต่างๆของร่างกาย

3.1.2.2.1. หัว หน้า คอ ตา คิ้ว หู ปาก คาง ลิ้น

3.1.2.3. สิ่งของเครื่องใช้

3.1.2.3.1. เสื้อ ผ้า ถ้วย ชาม ช้อน โอ่ง ไห จอบ เสียม

3.1.2.4. กิริยาอาการ

3.1.2.4.1. ไป มา นอน วิ่ง นั่ง ยืน พูด กิน

3.2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์

3.2.1. มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ใช้ได้อย่าละอิสระ

3.2.1.1. การการก

3.3. ภาษาไทยสะกดตรงมาตรา

3.3.1. มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมี 8 มาตรา

3.3.1.1. แม่กก

3.3.1.2. แม่กด

3.3.1.3. แม่กบ

3.3.1.4. แม่กม

3.3.1.5. แม่เกย

3.3.1.6. แม่เกอว

3.3.1.7. แม่กง

3.3.1.8. แม่กน

3.4. ภาษาไทยมีการเรียงคำในประโยค

3.4.1. ระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถือว่าการเรียงคำในประโยคมีความสำคัญ

3.5. ภาษาไทยจะวางคำขยายไว้หลังคำที่ถูกขยาย

3.5.1. เนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำหากมีคำขยายจะวางอยู่หลังคำและอยู่ติดกับคำที่ถูกขยาย

3.6. ภาษาที่มีลักษณนาม

3.6.1. คำลักษณะนามเป็นคำที่บอกลักษณะของนาทข้างหน้า มักใช้ตามหลังคำวิเศษณ์ยอกจำนวน เช่น กระเทียม 4 กลีบ ตระกล้า 2 ใบ

3.7. ภาษามีการสร้างคำขึ้นใหม่

3.7.1. โดยวิธีการประสมคำ การซ้อนคำ การซ้ำคำ การสมาสและการสนธิ

3.7.1.1. การสมาส

3.7.1.2. คำทับศัพท์

3.7.1.3. การประสม

3.7.1.4. การซ้อน

3.7.1.4.1. เพื่อเสียง

3.7.1.4.2. เพื่อความหมาย

3.7.1.5. การซ้ำคำ

3.8. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์

3.8.1. คำในภาษาไทยมีการใช้วรรณยุกต์ ซึ่งการใช้วรรณยุกต์ที่แตกต่างกันนี้ส่งผลให้ความหมายของคำเปลี่ยนไป

3.8.1.1. ทำให้เกิดควมหมาย

3.8.1.2. มีค่าเพิ่มมากขึ้น

3.9. ภาษาไทยมีระดับ

3.9.1. มีการใช้คำพูดให้เหมาะสมแก่บุคคลตามกาลเทศะ ระดับฐานะของบุคคล จึงทำให้มีหลายระดับเช่น คำราชาศัพท์ เป็นต้น

3.10. ภาษไทยมีวรรคตอนในการเขียนและจังหวะในการพูด

3.10.1. เพื่อกำหนดความหม่ยที่ต้องการ หากแบ่งวรรคตอนผิด หรือพูดผิดจังหวะ จะทำให้ความหมายเปลี่ยนไป