ลักษณะสำคัญของภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ลักษณะสำคัญของภาษาไทย by Mind Map: ลักษณะสำคัญของภาษาไทย

1. ส่วนประกอบของภาษา

1.1. องค์ประกอบของคำ

1.1.1. คำพยางเดียว

1.1.1.1. เย็น

1.1.1.2. มา

1.1.1.3. เดิน

1.1.1.4. เล่น

1.1.1.5. ร้อน

1.1.2. คำหลายพยางค์

1.1.2.1. กลางคืน

1.1.2.2. ทะล

1.1.2.3. ภูเขา

1.1.2.4. อาหาร

1.1.2.5. ราชา

1.2. องค์ประกอบของพยางค์

1.2.1. เสียงพยัญชนะ

1.2.2. เสียงสระ

1.2.3. เสียงวรรณยุกต์

2. เสียงในภาษา

2.1. เสียงสระและรูปสระ

2.1.1. เสียงสระ

2.1.2. เสียงแท้

2.2. เสียงพยัญชนะและรูปพยัญชนะ

2.2.1. พยัญชนะต้นเดียว

2.2.2. พยัญชนะควบกล้ำ

2.2.3. พยัญชนะท้าย(ตัวสะกด)

2.3. เสียงวรรณยุกต์และรูปวรรณยุคต์

2.3.1. เสียงวรรณยุกต์

2.3.2. รูปวรรณยุกต์

3. ลักษณะสำคัญของภาษาไทย

3.1. สะกดตรงตามมาตรา

3.1.1. มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมี8มาตรา ซึ่งคำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เช่น แม่กก ใช้ ก เป็นตัวสะกด ด้วย ก มักเป็นคำไทยแท้ เช่น มัก ชัก นัก

3.1.2. บางคำก็สะกดไม่ตรงมาตรา เช่นตัวสะกดแม่กด นอกจากใช้ ด เช่น ดุส รส บท เป็นต้น

3.1.3. สะกด8แม่

3.1.4. ตรงตามมาตรา8ตัว

3.1.4.1. ก บ ด น ม ย ว ง

3.2. ไม่เปลี่ยนแปลงรูปศัพท์

3.2.1. คำแต่ละคำมีความหมายสมบูณร์ในตัวเอง ใช้ได้อย่างอิสระ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ไปตามเพศ พจน์กาล

3.2.2. บอกพจน์

3.2.2.1. จำนวน

3.2.3. เพศ

3.2.3.1. ชาย

3.2.3.1.1. พ่อ พระ ไอ้

3.2.3.2. หญิง

3.2.4. กาล

3.2.4.1. เวลา

3.2.4.1.1. อดีต

3.2.4.1.2. ปัจจุบัน

3.2.4.1.3. อนาคต

3.3. ภาษาไทยมีการเรียงคำในประโยค

3.3.1. ระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถือว่าการเรียงคำในประโยค

3.3.2. มีความสำคัญ ดังเช่นคำว่าขัน ขันที่เป็นภาชนะสำหรับดักน้ำ ขันที่เสนอตัวเข้ารับทำด้วยความเต็มใจ ขันที่แปลว่า น่าหัวเราะ ชอบหัวเราะ

3.4. ภาษาไทยจะวางคำขยาจไว้หลังคำที่ถูกขยาย

3.4.1. เนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำหากมีคำขยายจะวางอยู่หลังคำเช่น น้องร้องเพลงเสียงหวานไพเราะ

3.5. ภาษาไทยมีคำลักษณะนาม

3.5.1. ภาษาไทยมีลักษณะเป็นคำที่บอกลักษณะของนามข้างหน้า มักใช้คำวิเศษณ์บอกจำนวน เช่น กระเทียม4กรีบ ตะกร้า2ใบ

3.5.2. งา เรียก กิ้ง

3.6. ภาษาไทยมีการสร้างคำขึ้นใหม่

3.6.1. โดยมีวิธีการประสม การซ้อนคำ การซ้ำคำ การสมาส และการสนธิ เช่น แม่บ้าน แข็งแกร่ง เล็กๆ อุทกภัย พุมธันดร

3.6.2. คำประสม จะนำมาจากภาษาไรก็ได้

3.6.2.1. คำประสาน

3.6.2.1.1. อิสระ

3.6.2.1.2. อิสระ

3.6.2.2. คำประสาน

3.6.2.2.1. อิสระ

3.6.2.2.2. ไม่อิสระ

3.6.3. คำซ้อน

3.6.3.1. ซ้อนเพื่อเสียง

3.6.3.1.1. เอะอะ จุกจิก

3.6.3.2. ซ้อนเพื่อความหมาย

3.6.3.2.1. กักขัง บ้านเรือน

3.6.4. คำซ้ำ ใช้ ๆ

3.6.5. คำสมาส เกิดจากบาลี+สันษกฤต

3.6.6. คำสนธิ

3.6.6.1. มกร+อ|าคม

3.7. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์

3.7.1. คำในภาษาไทยมีการใช้วรรณยุกต์ ซี่งการใช้วรรณยุกต์ที่แตกต่างกันนี้ส่งผลให้ความหมายคำเปลี่ยนไป เช่น คา หมายถึง ค้างอยู่ ค่า หมายถึง ราคา คุณประโยชน์

3.7.2. มี4รูป5เสียง

3.8. ภาษาไทยมีระดับ

3.8.1. ประเทศไทยมีวัฒนธรรมทางภาษา มีการใช้คำพูดให้เหมาะสมแก่บุคคลตามกาลเทศะ เช่นคำราชาศัพท์

3.8.2. 5ระดับ พิธีการ ทางการ กึ่งทางการ ไม่เป็นทางการ สนทธนา

3.9. คำภาษาไทยส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว

3.9.1. และมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง มักเป็นคำใช้เรียกสิ่งต่างๆ เช่น กริยาอาการ=ไป,มา,นอน,วิ่ง,นั่ง,ยืน,กิน

3.9.2. มีความหมายสมบูณร์

3.9.3. เรียกสิ่งต่างๆ

3.9.3.1. เครือญาติ=พ่อ,แม่,ปู่,ย่า,ตา,ยาย

3.9.3.2. ส่วนต่างๆของร่างกาย=หัว หน้า คอ

3.9.3.3. สิ่งของ=เสื้อผ้า ถ้อย ซาม ซ้อน โอ่ง

3.9.4. กิริยาอาการ

3.10. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและจังหวะในการพูด

3.10.1. เพื่อกำหนดความหมายที่ต้องการ หากแบ่งวรรคผิด หรือพูดเว้นผิด จะทำให้ความหมานเปลี่ยนแปลงไป

4. นายภูชิชย์ บัวเทศ เลขที่12 ม.4/5