หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรรายวิชา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรรายวิชา by Mind Map: หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรรายวิชา

1. หลักสูตรรายวิชา

1.1. การกำหนดชื่อรายวิชาและการสร้างรายละเอียดของรายวิชา

1.1.1. 1.การใช้ชื่อกลุ่มสาระเป็นชื่อรายวิชา

1.1.2. 2.การจัดรายวิชา โดยอาศัยContent-based Approach

1.1.3. 3.การสร้างรายวิชาจากเป้าหมายและจุดเน้นของรายวิชา

1.1.4. 4.การกำหนดชื่อรายวิชาและรายละเอียดของรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1.2. การกำหนดชื่อรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม

1.2.1. 1.ถ้าเป็นรายวิชาในส่วนที่เป็นการศึกษาภาคบังคับ

1.2.2. 2.นำบางสาระจากต่างกลุ่มสาระมาสร้างรายวิชาบูรณาการ

1.2.3. 3.นำแกนความคิดรวบยอดมาสร้างรายวิชา

1.2.3.1. 1)รายวิชาการบูรณาการจากแกนภายในหลุ่มสาระนั้น

1.2.3.2. 2)รายวิชาบูรณาการจากแกนร่วมข้ามกลุ่มสาระ

1.3. จากรายวิชาสู่หน่วยการเรียนรู้

1.3.1. ลักษณะและความสำคัญของหน่วยการเรียนรู้

1.3.1.1. 1.หน่วยการเรียนที่สร้างขึ้นควรมีการท้าทาย น่าสนใจ

1.3.1.2. 2.หน่วยการเรียนควรมีการสอดคล้องกับประสบการณ์ชีวิตจริงของผ้เรียน

1.3.1.3. 3.หน่วยการเรียนนั้นควรมีชีวิต

1.3.1.4. 4.หน่วยการเรียนควรเอื้อให้เกิดการวางแผนการเรียนที่เป็นบูรณาการในกลุ่มสาระหนึ่งๆหรือข้ามกลุ่มสาระ

1.3.1.5. 5.ลักษณะของหน่วยการเรียนรู้อาจประกอบด้วยหัวข้อต่างๆหลายๆหัวข้อได้

1.3.2. การสร้างหน่วยการเรียนรู้จากรายวิชา

1.3.2.1. 1.หน่วยการเรียนที่อยู่ในรายวิชาที่สถานศึกษาสร้างขึ้นในรูปแบบโครงสร้างหลักสูตรแบบแยกรายวิชาหรือกลุ่มสาระ

1.3.2.2. 2.หน่วยการเรียนรู้ที่อยู่ในรายวิชาสถานศึกษาสร้างขึ้นในรูปแบบบูรณาการข้ามกลุ่มสาระ

1.3.2.3. 3.หน่วยการเรียนรู้ที่อยู่ในรายวิชาสถานศึกษาสร้างขึ้นในรูปแบบโครงสร้างหลักสูตรแบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระเดียวกัน

1.3.3. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้

1.3.3.1. 1.กำหนดหัวข้อเรื่อง/หัวข้อย่อยเพื่อจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้ให้นักเรียนเรียน

1.3.3.2. 2.นำหัวข้อเรื่องหรือหัวข้อย่อยมากำหนดเป็นหน่วยการเรียนรู้

1.3.3.3. 3.ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้

1.3.3.4. 4.กำหนดเวลาของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม

1.3.3.5. 5.กำหนดฐานความคิดที่ใช้ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้

1.3.3.5.1. 1)ความรู้วิชาการเป็นฐานความคิด

1.3.3.5.2. 2)ทักษะเป็นฐานความคิด

1.3.3.5.3. 3)สังคมหรือจริยธรรมเป็นฐานความคิด

1.3.3.6. 6.นำหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยมาจัดทำแผนจัดการเรียนรู้เป็นรายหน่วย

1.3.3.6.1. 1)เลือกรูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้

1.3.3.6.2. 2)ตั้งชื่อแผนตามหัวข้อสาระการเรียนรู้

1.3.3.6.3. 3)กำหนดจำนวนเวลา ระบุระดับชั้น

1.3.3.6.4. 4)วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้

1.3.3.6.5. 5)เลือกจุดประสงค์การเรียนรู้ที่วิเคราะห์ไว้แล้ว

1.3.3.6.6. 6)วิเคราะห์สาระการเรียนรู้

1.3.3.6.7. 7)กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ตามลำดับความยากง่ายของเนื้อหานั้นๆ

1.3.3.6.8. 8)เลือกกิจกรรมและเทคนิคการสอนที่เหมาะสม

1.3.3.6.9. 9)เลืกสื่ออุปกรณ์สำหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ที่เลือกมา

1.3.3.6.10. 10)จัดทำลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1.3.3.6.11. 11)กำหนดการวัดผลประเมินผล

1.3.3.7. 7.นำแผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายหน่วยมาทดลองสอน

2. หลักสูตรสถานศึกษา

2.1. ความหมาย

2.1.1. หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง แผนหรือแนวทางในการจัดประมวลความรู้และประสบการณ์ ซึ่งจัดทำโดยคณะบุคคลในระดับสถานศึกษา

2.2. แนวคิดการพัตนา

2.2.1. เป็นแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based Management-SBM)

2.3. สิ่งที่ควรคำนึงในการพัฒนา

2.3.1. การกำหนดรูปแบบหลักสูตร

2.3.2. โครงสร้างหลักสูตร

2.4. แนวทางการจัดทำโครงร่างหลักสูตรตามมาตรฐาน

2.4.1. พัฒนาหลักสูตรโดยเริ่มต้นจากหลักสูตรเดิมที่โรงเรียนมีอยู่

2.4.2. นำมาตรฐาน มากำหนดเป็นโครงร่างหลักสูตรและพัฒนาหน่วยการเรียน

2.4.3. นำมาตรฐาน มากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อสอนทุกชั้นปี

2.5. ขั้นตอนการพัฒนา

2.5.1. ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการและการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา

2.5.1.1. ขั้นการเตรียมการ

2.5.1.1.1. 1.แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา

2.5.1.1.2. 2.จัดทำแผนพัฒนาหลักสูตร

2.5.1.1.3. 3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหาจุดเน้นความต้องการขอสถานศึกษา ผู้เรียน และชุมชน

2.5.1.1.4. 4.วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง

2.5.1.2. ขั้นการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา

2.5.1.2.1. 1.คัดเลือกรูปแบบหลักสูตร

2.5.1.2.2. 2.ออกแบบหลักสูตร

2.5.1.2.3. 3.การตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา

2.5.2. ขั้นตอนที่ 2 การนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้

2.5.2.1. 1.แต่งตั้งคณะกรรมการที่จะนำหลักสูตรไปใช้

2.5.2.2. 2.จัดทำแผนงาน

2.5.2.3. 3.ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ

2.5.2.4. 4.รวบรวมข้อมูลจากการใช้หลักสูตร

2.5.2.5. 5.ประเมินข้อมูลและทบทวนหลักสูตร

2.5.3. ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา

2.5.3.1. ประเมินจากผลที่เกิดกับนักเรียน

2.5.3.1.1. การประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้

2.5.3.1.2. การประเมินผลหลังจากการจัดการเรียนรู้

2.5.3.2. ประเมินการจัดการเรียนรู้

2.5.3.3. ประเมินเนื้อหาสาระที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

2.5.3.4. ประเมินสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอน

2.5.3.5. ประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน

2.6. องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.6.1. 1.วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย

2.6.2. 2.โครงสร้างหลักสูตรหรือโครงร่างหลักสูตร

2.6.3. 3.คำอธิบายรายวิชา

2.6.4. 4.หน่วยการเรียนรู้