ภัยพิบัติทางธรรมชาติในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียเเละโอเชียเนีย
by Tananchanok Sripan
1. ไฟป่า
1.1. สาเหตุ
1.1.1. สาเหตุจากธรรมชาติ : 1.กิ่งไม้เสียดสีกัน 2.ฟ้าผ่าในฤดูแล้ง 3.ปฏิกิริยาเคมีในดินป่าพรุ
1.1.2. สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์ : 1.การจุดไฟหาของป่า 2.การเผาไร่ 3.การขัดแย้งผลประโยชน์
1.2. การปฏิบัติตน : 1.หากพบการจุดไฟขนาดเล็กควรรีบดับไฟทันที 2.เมื่อพบเห็นไฟป่าควรรีบเเจ้งหน่วยงานเจ้าหน้าที่ 3.ทำเเนวกันไฟรอบชุมชน 4.หลีกเลี่ยงการเผาขยะเเละการจุดไฟเผาป่า
1.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ให้ความรู้เเก่ประชาชนเกี่ยวกับไฟป่า 2.ป้องปรามเเละบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด 3.เตรียมความพร้อมเเละดับไฟป่า
1.4. ภาพความเสียหาย
2. วาตภัย
2.1. สาเหตุ : เกิดจากน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงมีความกดอากาศต่ำ ในเขตร้อนพายุเมฆจะก่อตัวและเกิดเป็นพายุฝนฟ้าคะนอง
2.2. การปฏิบัติตน : 1.เมื่อเกิดพายุควรอยู่ในสถานที่ที่เเข็งเเรงเเละปลอดภัย 2.ปิดกั้นช่องทางลมเเละช่องทางต่างๆ
2.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ติดตามข่าวสาร 2.ตัดกิ่งไม้ที่อาจจะเป็นอันตราย 3.ดูเเลอาคารบ้านเรือนให้เเข็งเเรง
2.4. ภาพความเสียหาย
3. ภัยเเล้ง
3.1. สาเหตุ
3.1.1. สาเหตุจากธรรมชาติ
3.1.1.1. การเปลี่ยนเเปลงสภาพอากาศจากปริมาณน้ำฝนที่น้อยกว่าปกติ
3.1.2. สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์
3.1.2.1. 1.จำนวนประชาการเพิ่มขึ้น 2.การทำลายป่าต้นไม้ 3.เเหล่งกักเก็บน้ำมีน้อย
3.2. การปฏิบัติตน : 1.การติดตามข่าวสารและปฏิบัติตามคำแนะนำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.ลดการปลูกพืชที่ใช้น้ำมาก 3.วางเเผนการใช้น้ำอย่างประหยัด
3.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ไม่ตัดไม้ทำลายป่า 2.สร้างเเหล่งกักเก็บน้ำ 3.ทำฝนเทียมเพื่อเเก้ไขปัญหาการขาดเเคลนน้ำ
3.4. ภาพความเสียหาย
4. อุทกภัย
4.1. สาเหตุ : ฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานจนไม่สามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ทัน
4.2. การปฏิบัติตน : 1.ไม่ลงเล่นน้ำในขณะที่น้ำท่วม 2.ตัดสะพานไฟเเล้วปิดเเก็สหุงต้ม 3.อยู่ในอาคารที่เเข็งเเรงเเละสูงพ้นจากน้ำท่วม
4.3. ภาพความเสียหาย
4.4. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ไม่ตัดไม้ทำลายป่า 2.เตรียมพื้นที่อพยพของชุมชน 3.สร้างเส้นทางคมนาคมที่น้ำจะไหลผ่านได้สะดวก
5. เเผ่นดินถล่ม
5.1. สาเหตุ : 1.การตัดไม้ทำลายป่า 2.ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน 3.ตัดถนนผ่านภูเขา
5.2. การปฏิบัติตน : 1.รีบอพยพหรือหนีไปที่สูง 2.หาต้นไม้ใหญ่ที่ใกล้ที่สุด 3.ถ้าตกไปในน้ำห้ามว่ายน้ำหนี
5.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ปลูกพืชเพื่อช่วยยึดหน้าดิน 2.ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศ 3.ไม่สร้างบ้านขวางทางน้ำ
5.4. ภาพความเสียหาย
6. สึนามิ
6.1. สาเหตุ : 1.เเผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในทะเล 2.อุกกบาตตกในทะเล 3.เเผ่นดินถล่มใต้ทะเล 4.การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
6.2. การปฏิบัติตน: 1.เมื่อได้ยินสัญญาณเตือนภัยให้รีบขึ้นที่สูงทันที 2.หากเรือจอดจอดอยู่ที่ท่าเทียบเรือให้นำเรือออกไปกลางทะเล 3.หากอยู่บนเรือกลางทะเลอย่านำเรือเทียบท่า 4.กรณีเล่นน้ำอยู่ในทะเลให้พยายามว่ายน้ำเเละมองหาที่ยึดเกาะ
6.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.หลีกเลี่ยงการก่อสร้างอาคารใกล้ชายฝั่ง 2.ศึกษาเส้นทางการอพยพ 3.ติดตามข่าวเเละการเตือนภัย
6.4. ภาพความเสียหาย
7. ภูเขาไฟปะทุ
7.1. สาเหตุ:เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโดยหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกเกิดการเคลื่อนตัวทำให้มีเเรงดันโดยจะปะทุเเละเเทรกขึ้นมาตามรอยเเยกหรือจากปล่องภูเขาไฟ
7.2. การปฏิบัติตน : 1.ให้รีบออกจากพื้นที่เสี่ยง 2.เชื่อฟังเเล้วอพยพหนีตามคำแนะนำของหน่วยงาน
7.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ซ้อมอพยพหนีภัย 2.ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ 3.สร้างอาคารเพื่อรองรับผู้อพยพให้เพียงพอ 4.เฝ้าสังเกตภูเขาไฟบางลูกเป็นพิเศษเเละติดตั้งระบบเตือนภัย
7.4. ภาพความเสียหาย
8. เเผ่นดินไหว
8.1. สาเหตุ : 1.การเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนบริเวณเปลือกโลก 2.การสั่นสะเทือนจากการปะทุของภูเขาไฟ 3.การทดลองระเบิดปรมาณูหรือการปะทุของระเบิดนิวเคลียร์
8.2. การปฏิบัติตน : 1.หากอยู่ในอาคารให้รีบมุดลงใต้โต๊ะที่เเข็งเเรงหรืออยู่ในมุมตึก 2.ควรออกมาอยู่ในที่โล่งเพื่อป้องกันสิ่งของหล่นทับ 3.หากอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลให้รีบขึ้นที่สูงเพราะอาจเกิดสึนามิ
8.3. การป้องกันเเละระวังภัย : 1.ติดตามจ่าวสารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.ตรวจสอบสิ่งก่อสร้างต่างๆให้มั่นคงเเข็งเเรง 3.ร่วมฝึกซ้อมการอพยพหนีภัยของชุมชน
8.4. ภาพความเสียหาย
9. ผู้จัดทำ 1ด.ญ.กนกอร จันทร์สว่าง เลขที่ 17 2ด.ญ.กานต์ธิดา พึลึกเรืองเดช เลขที่19 3ด.ญ.จิรนันท์ นิ่มไชยนันท์ เลขที่ 21 4ด.ญ.ณิชาภัทร พาณิชย์ศะศิลวัฒน์ เลขที่26 5ด.ญ.ธนัญชนก ศรีพรรณ เลขที่ 27 6ด.ญ.รวิสรา พิบูลสวัสดิ์ เลขที่ 33