มารดา G1P0000 ชาวไทย อายุ 23 ปี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มารดา G1P0000 ชาวไทย อายุ 23 ปี by Mind Map: มารดา G1P0000 ชาวไทย อายุ 23 ปี

1. พบ Uterine Sign มดลูกมีลักษณะกลมแข็ง อยู่ระดับสะดือเยื้องไปด้านขวาเล็กน้อย เนื่องจากด้านซ้ายมี Colon อยู่ -ไม่พบ Vulva sign -Cord Sign มีการเลื่อนลงของสายสะดือประมาณ 8-10 เซนติเมตร ชีพจรของสายสะดือหายไป เกลียวของสะดือ คลายออก -Cord test การกดบริเวณเหนือหัวเหน่าสายสะดือไม่เลื่อน ตามขึ้นไป

2. กลไกการคลอด

2.1. Engagement

2.1.1. หมุนตามเข็มนาฬิกา 45 องศาเพื่อให้ศีรษะและไหล่ตั้งฉากกันตามธรรมชาติ

2.2. Flexion

2.2.1. ข้อดี คือ มีการฉีกขาดต่อไปถึงลำไส้ใหญ่ได้น้อยกว่าแต่ซ่อมแซมยากกว่า เสียเลือดมากกว่า แผลหายยากกว่าและพบการเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ได้มากกว่า

2.3. Internal rotation

2.3.1. การหมุนของศีรษะทารกภายในช่องเชิงกราน

2.4. Extension

2.5. การก้มของศีรษะทารกจนชิดคางชิดอก

2.6. External rotation

2.6.1. การหมุนของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด

2.7. Expusion

3. 1. Schultze’s Method เป็นการลอกตัวของรกที่เกิดขึ้นที่ตรงกลางของรกก่อน ทำให้เลือดออกและขังอยู่ด้านใน จึงไม่มีเลือดออกมาให้เห็นทางช่องคลอดก่อนรกคลอด (Valva sign) มีส่วนช่วยให้รกลอกตัวได้สมบูรณ์เร็วขึ้น ลักษณะที่เห็นขณะรกคบอดจะเห็นรกด้านทารก ออกมาที่อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกพร้อมกับเยื่อหุ้มทารกจะเคลื่อนตามออกมา มองดูคล้ายกับการกลับเอาด้านในออกมาด้านนอก

3.1. -การลอกตัวของรกเป็นแบบ Schultze’s Method

4. 3.การมีน้ำคาวปลา (Lochia)

4.1. มีลักษณะเป็นสีแดง

5. 13 : โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงในระยะที่ 3 ของคลอด มดลูกปลิ้นได้ 14 .ส่งเสริมการคลอดในระยะที่ 3 ดำเนินไปตามปกติ

6. ลักษณะการตัดฝีเย็บ

7. ส่วนนำคลอดผ่านพ้นทางช่องคลอดออกมาภายนอกโดยเงยหน้า

8. ทารกท่า ROA จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา45องศา

8.1. Restitution

8.1.1. การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด

9. 3.การเคลื่อนต่ำของสะดือ (Cord sign) เมื่อรกลอกตัวหมดแล้ว สายสะดือจะเหี่ยว เกลียวคลาย และคลำชีพจรไม่ได้ และสายสะดือจะเลื่อนต่ำลงมาจากที่เดิม 8-10 ซม.

10. 1.การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของมดลูก (Uterine sign) เมื่อรกลอกตัวหมดแล้ว มดลูกจะเปลี่ยนรูปร่างจากกลมแบน ใหญ่ นุ่มและอยู่ต่ำกว่าสะดือ เป็นก้อนนูน เล็ก แข็งลอยอยู่สูงกว่าสะดือเล็กน้อยค่อนไปทางขวาเนื่องจากด้านซ้ายมีลำไส้ใหญ่และโดยส่วนมากยอดมดลุกมักอยู่สูงกว่าระดับสะดือ

11. ระยะที่ 2 ของการคลอด

11.1. อาการแสดงว่าเข้าสู่ระยะที่ 2

11.1.1. อาการแสดงที่บ่งชัดแน่นอน (Positive sign)

11.1.1.1. พบส่วนนำของทารกจากการตรวจภายใน คลำไม่พบขอบปากมดลูก

11.1.1.2. -รู้สึกอยากเบ่ง หรืออยากถ่ายอุจจาระ

11.1.1.2.1. S : ผู้คลอดบอกว่ารู้สึกอยากจะเบ่ง เวลา O : มดลูกหดรัดตัว Interval= 2’15” Duration= 55’’ O :มีมูกเลือดออกขณะPVครั้งที่2เวลา10.50น. O : ฝีเย็บโป่งตึง ผิวหนังมัน วาว บาง O :ปากช่องคลอดจะอ้าเล็กน้อย

11.1.1.3. -ทวารหนักจะตุง และถ่างขยายในขณะที่มารดาเบ่ง แต่จะผลุบกลับเข้าไปเมื่อผู้คลอดหยุดเบ่ง

11.1.1.4. เจ็บปวดรุนแรงมากขึ้น

11.1.1.5. Medio – lateral episiotomy เป็นการตัดฝีเย็บแบบเฉียง 45 องศา จากบริเวณมุมด้านบนของฝีเย็บ ( Fourchette) มี 2 แบบ คือ 1.1ตัดเฉียงลงไปด้านซ้ายของฝีเย็บ ( Left medio – lateral episiotomy ) 1.2 ตัดเฉียงลงไปด้านขวาของฝีเย็บ ( Right medio – lateral episiotomy )

11.1.1.5.1. ตัดเฉียงลงไปด้านซ้ายของฝีเย็บ ( Left medio – lateral episiotomy )

11.1.1.6. -ฝีเย็บโป่งตึง หรือรูทวารหนัก เปิดผิวหนังเป็นมัน

11.2. การตรวจทางช่องคลอด

11.2.1. การย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด

11.2.1.1. 1.ครรภ์แรก เมื่อปากมดลูกเปิดหมด

11.2.1.1.1. O:ย้ายเข้าห้องคลอดเมื่อผู้คลอดปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร เวลา 08.05 น.

11.2.1.1.2. O: มารดาครรภ์ที่1ใช้เวลาในระยะที่2ของการคลอด 6 นาที

11.2.1.2. 2.ครรภ์หลัง เมื่อปากมดลูกเปิดหมด 8 เซนติเมตร

11.3. Descent

11.3.1. ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงไปในช่องเชิงกราน

11.4. การที่ส่วนนำที่กว้างที่สุด (biparietal diameter) ผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน

11.5. การขับเคลื่อนเอาตัวทารกออกมา ทั้งหมด

11.6. ข้อวินิจฉัย

11.6.1. 11 : มีโอกาสเกิดระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนานเนื่องจากผู้คลอดเบ่งไม่ถูกวิธี 12:ส่งเสริมให้การคลอดในระยะที่ 2 ดำเนินไปตามปกติ

12. CC : ไม่เจ็บครรภ์ มีน้ำเดิน 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลก่อนมา

13. ระยะที่ 3 ของการคลอด

13.1. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ในระยะที่ 3 ของการคลอด

13.1.1. การลอกตัวของรก

13.1.1.1. อาการแสดงการลอกตัวของรก

13.1.1.1.1. 2.การมีเลือดออกทางช่องคลอด (Vulva sign) เลือดที่ออกมานี้ประมาณ 30-60 มิลลิลิตร มักพบในรกที่มีการลอกตัวแบบ Metthews Duncan’s method ถ้ารกลอกตัวแบบ Schultze’s methodมักจะไม่มีเลือดออกมาให้เห็น

13.1.1.2. 2. Metthews Duncan’s Method เป็นการลอกตัวของรกโดยเริ่มที่บริเวณริมรกก่อนส่วนอื่นและเลือดที่เกิดจากการฉีกขาดของใช้เวลาในระยะที่3 ของการคลอด 19 นาที การลอกตัวของรกเป็นแบบ Schultze’s Methodผนังมดลูกจะไหลซึมออกมาภายนอก (valva sign) การลอกตัวชนิดนี้ไม่มีเลือดขังอยู่หลังรกที่จะช่วยใน การลอกตัวของรก จึงทำให้รกลอกตัวได้สมบูรณ์ช้ากว่าชนิดแรก

13.1.2. วิธีการทำคลอดรก

13.1.2.1. 1. Modified Crede’maneuverวิธีนี้อาศัยการหดรัดตัวของแข็งของมดลุกส่วนบนดันเอารกซึ่งอยู่ ส่วนล่างของมดลูกออกมา

13.1.2.1.1. ทำคลอดรกแบบ Modified Crede’maneuver

13.1.2.2. 2. Brandt-Andrews maneuver วิธีการทำคลอดรกโดยอาศัยมือกดไล่รกออกมา การปฏิบัติใช้มือที่ไม่ถนัดจับสายสะดือไว้ให้ตึง และใช้มือที่ถนัดดันมดลูกส่วนบนขึ้นไป

13.1.2.3. 3. Controlled cord traction เป็นการทำคลอดรกโดยวิธีดึงสายสะดืออย่างมีการควบคุม

13.2. ข้อวิจฉัยการพยาบาลในระยที่3

14. ระยะที่ 4 ของการคลอด

14.1. อาการเปลี่ยนแปลง

14.1.1. 1.มดลูก

14.1.1.1. มดลูกมีลักษณะกลม แข็ง มีความยาว 5นิ้ว>SP

14.1.2. 2.ปากมดลูก

14.1.2.1. ปากมดลูกยังคงนุ่มเลือด ที่ออกทางช่องคลอดประมาณ 42 cc

14.1.3. 4.ช่องคลอดและแผลฝีเย็บ

14.1.3.1. แผลฝีเย็บมีลักษณะไม่บวม ไม่แดง

14.1.4. 5.กระเพาะปัสสาวะ

14.1.4.1. void ก่อนไปหลังคลอด 600 cc

14.1.5. 6.ระบบหายใจและหลอดเลือด

14.1.5.1. V/S ก่อนย้าย BT = 36.5 องศาเซลเซียส, P = 70/min, R = 20 /min, BP = 113/71 mmHg

14.2. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ระยะ4

14.2.1. มารดา

14.2.1.1. ข้อที่ 2 ปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ

14.2.1.2. ข้อที่ 3 อ่อนเพลียจากการสูญเสียน้ำและพลังงานจากการเบ่งคลอด

14.2.1.3. ข้อที่ 4 ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก

14.2.2. ทารก

14.2.2.1. ข้อที่ 5 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์

14.2.2.2. ข้อที่ 6 เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีความต้านทานโรคต่ำ

14.2.2.3. ข้อที่ 7 มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจากมีสารช่วยในการแข็งตัวของเลือดต่ำ

14.3. ข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการติดเชื้อบาดแผลฝีเย็บและช่องทางคลอด

15. หลังคลอด day 1

15.1. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล

15.1.1. มารดา

15.1.1.1. ข้อที่ 1เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด

15.1.1.2. ข้อที่ 2 ปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ

15.1.2. ทารก

15.1.2.1. ข้อที่ 5 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์

15.1.2.2. ข้อที่ 6 เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีความต้านทานโรคต่ำ

16. หลังคลอด day 2

16.1. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล

16.1.1. มารดา

16.1.1.1. ข้อที่ 4ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก

16.1.1.2. ข้อที่ 1 เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด

16.1.1.3. ข้อที่ 2 ปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ

16.1.1.3.1. ข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการติดเชื้อบาดแผลฝีเย็บและช่องทางคลอด

16.1.1.4. ข้อที่ 1เสี่ยงต่อการตกเลือด2ชม.หลังคลอด

16.1.1.5. ข้อที่ 5 ส่งเสริมความรู้ในการดูแลตนองและทารกเมื่อกลับบ้าน

16.1.1.6. ข้อที่ 4 ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก

16.1.2. ทารก

16.1.2.1. ข้อที่ 6 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์

16.1.2.2. ข้อที่ 7 เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีความต้านทานโรคต่ำ

16.1.2.3. ข้อที่ 8 มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจากมีสารช่วยในการแข็งตัวของเลือดต่ำ

17. DX ; G1 P0 0 0 0 GA 40+5 weeks with nearly postterm

17.1. GA = 40+5 WKS E.D.C = 12 ตุลาคม 2563

18. การเปลี่ยนแปลงในระยะที่ 1

18.1. เคสนี้ปากมดลูก 4 -7 CM ใช้เวลา 1 ชม. 35นาที interval 2’30”- 2’ นาที duration 30”- 35'' วินาที

18.1.1. การพยาบาล

18.2. 2. ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมน oxytocin (oxytocin stimulation theory)

18.2.1. มารดาอยู่ระยะท้ายของการตั้งครรภ์ > ออกซิโตซินเพิ่มขึ้น > กระตุ้นมดลูกหดรัดตัวเพิ่มขึ้น

18.3. ระยะ Latent phase

18.3.1. เคสนี้เจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 3 cm. ใช้เวลา 2 ชม. 20 นาที - interval 2’30”- 5’ นาที - duration 20” - 35” วินาที

18.3.1.1. การพยาบาล

18.4. ระยะ Active phase

18.5. เคสนี้ปากมดลูก 8-10 CM ใช้เวลา 1 ชม. 40 นาที - interval 2’ นาที - duration 35” วินาที

18.5.1. กาพยาบาล

18.5.2. S : มารดาให้ข้อมูลว่า ปวดมาก มดลูกหดรัดตัวแรงขึ้น เรื่อยๆ O : มารดามีการลูบหน้าท้องและฝึกบริหารการผ่อนลมหายใจเพื่อบรรเทาปวด S : มารดาบอกว่าตนเข้าใจว่าอาการปวดเป็นธรรมชาติของการคลอด จึงส่งเสริมการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบรรเทาความเจ็บปวดและการเบ่งที่ถูกวิธี

18.6. ระยะ Transitional phase

18.6.1. 1. ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (uterine stretch theory)

18.6.2. 2. ช่องทางคลอด (passage)

18.6.2.1. ช่องเชิงกราน (bony passage)

18.6.2.2. O : มารดารายนี้มีส่วนสูง 170 cm O : จากการสังเกตผู้คลอดรายนี้มีท่าเดินปกติ S : มารดานี้ปฏิเสธการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บของช่องเชิงกราน

18.6.2.3. ช่องทางคลอดที่ยืดขยายได้ (Soft passage)

18.6.2.3.1. O : ตรวจภายในแรกรับ พบว่า ปากมดลูกนุ่มบาง 75% ช่องทางคลอดปกติ

18.7. -ประเมิน U/C,FHS ทุก 15 นาที -V/S ,PVทุก 1 ชั่วโมง -กระตุ้นให้ผู้ป่วยเดินไปปัสสาวะเอง-แนะนำการหายใจแบบ แนะนำการหายใจแบบ Shallow breathing คือ หายใจเข้าทางจมูกตื้นๆและหายใจออกทางปากแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆ ขณะมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้หายใจแบบช้าก่อน เมื่อมดลูกหดรัดตัวเต็มที่จึงเปลี่ยนเป็นการหายใจแบบเร็ว ตื้น และเบาจนมดลูกคลายตัวจึงกลับไปเป็นแบบช้า -สอนการกระตุ้นผิวหนัง โดยการลูบ การนวด การคลึงเบาๆ บริเวณที่มีความเจ็บปวด เพราะใยประสาทในผิวหนังล้วนเป็นใยประสาทขนาดใหญ่ ทำให้ระบบควบคุมประตูปิด -เตรียมทำคลอดตามมาตรฐาน

19. ประเมิน U/C,FHS ทุก 1 ชม. -V/S ,PVทุก 4 ชั่วโมง -กระตุ้นให้ผู้ป่วยเดินไปปัสสาวะเอง -สอนเทคนิคการหายใจผ่อนคลายความเจ็บปวด หายใจแบบ Slow breathing คือ หายใจเข้าทางจมูกลึกๆและหายใจออกทางปากช้าๆ -สอนการกระตุ้นผิวหนัง โดยการลูบ การนวด การคลึงเบาๆ บริเวณที่มีความเจ็บปวด เพราะใยประสาทในผิวหนังล้วนเป็นใยประสาทขนาดใหญ่ ทำให้ระบบควบคุมประตูปิด ลดการส่งสัญญาณความเจ็บปวดไปยังสมองไม่เกิดการรับรู้ความเจ็บปวด -แนะนำการเพ่งจุดสนใจ เพื่อเบี่ยงเบนความเจ็บปวด -ดูแลให้มารดาพักผ่อนในท่าที่สุขสบาย แนะนำให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับเส้นเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น

20. -ประเมิน U/C,FHS ทุก 30 นาที -V/S ,PV ทุก 2 ชั่วโมง -กระตุ้นให้ผู้ป่วยเดินไปปัสสาวะเอง-แนะนำการหายใจแบบ Shallow breathing คือ หายใจเข้าทางจมูกตื้นๆและหายใจออกทางปากแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆ ขณะมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้หายใจแบบช้าก่อน เมื่อมดลูกหดรัดตัวเต็มที่จึงเปลี่ยนเป็นการหายใจแบบเร็ว ตื้น และเบาจนมดลูกคลายตัวจึงกลับไปเป็นแบบช้า -สอนการกระตุ้นผิวหนัง โดยการลูบ การนวด การคลึงเบาๆ บริเวณที่มีความเจ็บปวด เพราะใยประสาทในผิวหนังล้วนเป็นใยประสาทขนาดใหญ่ ทำให้ระบบควบคุมประตูปิด ลดการส่งสัญญาณความเจ็บปวดไปยังสมองไม่เกิดการรับรู้ความเจ็บปวด -แนะนำการเพ่งจุดสนใจ เพื่อเบี่ยงเบนความเจ็บปวด -ดูแลให้มารดาพักผ่อนในท่าที่สุขสบาย แนะนำให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับเส้นเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น

21. สีแดง = หัวข้อหลัก

22. 3. สภาวะร่างกายของผู้คลอด (physical condition)

22.1. S : จากการซักประวัติมารดารายนี้ปฏิเสธโรคประจำตัว มีอายุ 23 ปี O : จากการสังเกตมารดามีสีหน้าไม่ค่อยสดชื่น มีอาการอ่อนเพลีย

23. สิ่งที่ผ่านออกมาทารก รก เยื่อหุ้มรก น้ำคร่ำ เคสนี้ - ทารกROA vertex presentation น้ำหนัก 3186 .gms. -รก เกาะแบบ Centralis insertion -น้ำคร่ำ clear ML

24. มารดามีอายุครรภ์ครบกำหนด > ทำให้มีการยืดขยายของมดลูก > ขยายสุดจนขยายไม่ได้ > เกิด Depolarization > กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว

25. ปัจจัยที่มีผลต่อการคลอดในระยะที่1

25.1. 4. สภาพจิตใจของผู้คลอด (psycholgocal condition)

25.2. 5. สิ่งที่คลอดออกมา (Passangers)

25.3. 6. Position ท่าของมารดา

25.3.1. 1.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงจากการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก 2. เจ็บครรภ์คลอดเนื่องจากเข้าสู่ระยะ latent phase 3. ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดในระยะ latent phase 4 : เฝ้าระวังตกเลือดก่อนคลอด 5 :เฝ้าระวังภาวะ Fetal distress จากการที่มดลูกหดรัดตัว 6 : มารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด 7 : เจ็บครรภ์คลอดเนื่องจากเข้าสู่ระยะ Active phase 8 : ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดในระยะ Active phase 9 เจ็บครรภ์คลอดเนื่องจากเข้าสู่ระยะ transition phase 10 : ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดในระยะ transition phase

25.3.2. ท่าของผู้คลอด dorsal recumbent

25.4. 1. แรงผลักดัน (power)

25.4.1. -Uterine contraction 03.40น. I=5’ D=20”s=+ 07.35 น. I=2’ D=35” S= ++ 07.50 น. I=2’ D=35” S = +++ 08.04 น. I=2’ D=35” S= ++++

26. ระยะที่ 1 ของการคลอด

26.1. อาการแสดงเมื่อใกล้คลอด Premonitory signs

26.1.1. 1. เจ็บครรภ์เตือน (false labor pain)

26.1.1.1. เจ็บครรภ์ถี่ขึ้น 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

26.1.2. 2. ท้องลด (lightening)

26.1.3. 3. การเพิ่มของสารคัดหลั่งจากช่องคลอด (Vaginal mucous secretion)

26.1.3.1. ใกล้คลอดมีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด

26.1.4. ปัจจัยด้านลูก

26.1.5. แรกรับ ปากมดลูกเปิด 1 cm ความบาง 75 %

26.1.6. 4. ปากมดลูกบางและสั้น (cervical dilatation and cervical affacement )

26.1.7. 1. ทฤษฎีการขาดฮอร์โมน progesterone ( progesterone deprivation theory)

26.1.8. 5. ถุงน้ำคร่ำแตก (Rupture of membranes)

26.1.8.1. มารดารายนี้อายุครรภ์ครบกำหนด > ทารกมีการาเจริญเติบโตเต็มที่ > มีการหลั่งของ cortisol ขึ้น > กล้ามเนื้อมดลูกเริ่มหดรัดตัว > เกิดการเจ็บครรภ์

26.1.8.2. มารดาใกล้คลอด > เยื่อหุ้มทารกสร้าง Prostaglandins > มดลูกหดรัดตัวและมีอาการเจ็บครรภ์

26.1.8.3. มารดาตั้งครรภ์รายนี้มาด้วยน้ำเดิน ถุงน้ำคร่ำแตก ก่อนมา โรงพยาบาล 1 ชั่วโมง วันที่ 15 ตุลาคม 2563

26.1.8.4. มารดามีอายุครรภ์ 40+5 weeks > ทำให้ Hormone progesterone ลดลง > มดลูกหดรัดตัวและมีอาการเจ็บครรภ์

26.2. ทฤษฎีการเจ็บครรภ์คลอด

26.2.1. ปัจจัยด้านแม่

26.2.2. ปัจจัยอื่นๆ

26.2.2.1. 1. ทฤษฎีฮอร์โมน Cortisol ของทารกในครรภ์ (fetal cortisol theory)

26.3. 2.ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมน prostaglandin (prostaglandin cascade theory)

26.4. ข้อวินิจฉัย

27. หมายเหตุ :

27.1. สีม่วงเข้ม = หัวข้อย่อย

27.2. สีชมพู่ + ข้อมูลผู้ป่วย

27.2.1. Thank you

27.3. สีฟ้า + การพยาบาล

27.4. สีเหลือง = ข้อวินิจฉัย