หลักการสร้างแบบเรียน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักการสร้างแบบเรียน by Mind Map: หลักการสร้างแบบเรียน

1. ข้อสังเกตในการสร้างโครงสร้างเนื้อหา

1.1. หัวเรื่อง จุดมุ่งหมาย คำถามนำ รวมทั้งโครงสร้างเนื้อหามีความชัดเจน

1.2. โครงสร้างเนื้อหาตลอดทั้งเล่มจะต้องมีความสอดคล้องกัน

1.3. โครงสร้างภายในแต่ละบทต้องมีแบบแผนที่ใช้เหมือนกันทุกบท

1.4. รูปแบบโครงสร้างหนังสือเรียน เสนอแนะให้ผู้เขียนจัดทำโครงสร้างหนังสือเรียนไว้ล่วงหน้าก่อนลงมือเขียน

2. รูปลักษณ์หนังสือเรียน

2.1. รูปลักษณ์ส่วนต้นเล่ม

2.1.1. ปกหน้า

2.1.2. ปกหลัง

2.1.3. สันหนังสือ

2.1.4. แผ่นปลิวรองปก

2.1.5. หน้าปกใน

2.1.6. หน้าลิขสิทธิ์

2.1.7. หน้าคำนำ

2.1.8. หน้าสารบัญ

2.1.9. กระดาษพิมพ์เนื้อใน

2.2. รูปลักษณ์ส่วนเนื้อเรื่อง

2.2.1. บทนำเรื่อง

2.2.2. ส่วนเนื้อเรื่อง

2.3. รูปลักษณ์ส่วนท้ายเล่ม

2.3.1. หน้าภาคผนวก

2.3.2. หน้ากิจกรรมอื่น ๆ

2.3.3. หน้าบรรณานุกรม

3. วิธีการกำหนดโครงสร้างเนื้อหา

3.1. วิธีกำหนดโครงสร้างเนื้อหาทั้งเล่ม

3.1.1. กำหนดโดยใช้ลักษณะโครงสร้างของเนื้อหาวิชานั้นๆ

3.1.2. กำหนดสร้างโครงสร้างเนื้อหาตามขั้นตอนของคำอธิบายรายวิชา (ระดับมัธยมศึกษา)

3.1.3. กำหนดตามจุดประสงค์การเรียนรู้ตามหลักสูตร

3.1.4. กำหนดตามการสร้างจุดประสงค์การเรียนเฉพาะขึ้นมาเองเป็นกรณีพิเศษ

3.2. วิธีกำหนดโครงสร้างเนื้อหาภายในบท

3.2.1. ส่วนนำเรื่อง อาจเขียนเป็นคำถาม

3.2.2. ส่วนที่เป็นเนื้อหา เป็นรายละเอียดที่จะตอบคำถาม

3.2.2.1. องค์ประกอบของเนื้อหาจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

3.2.2.2. การออกแบบเนื้อเรื่องเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของหนังสือเรียน

3.2.2.3. หลักในการจัดหน้าหนังสือมีส่วนทำให้หนังสือน่าอ่านและเข้าใจง่าย ถือเป็นหัวใจสำคัญ

3.2.2.4. รายละเอียดของการจัดหน้าเนื้อเรื่อง

3.2.2.4.1. หน้าแรกของเนื้อเรื่อง

3.2.2.4.2. หน้าต่อ ๆ ไปของเนื้อเรื่อง

3.2.2.4.3. การจัดหน้าของหนังสือเรียนที่มีเนื้อเรื่องมาก

3.2.2.4.4. ภาพในหน้าเนื้อเรื่อง

3.2.3. ส่วนสรุปความมีความคิดรวบยอดและประเด็นสาระหลัก