การพัฒนาระบบสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาระบบสารสนเทศ by Mind Map: การพัฒนาระบบสารสนเทศ

1. แรงผลักดันที่ทำให้เกิดการพัฒนาระบบ

1.1. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน

1.2. การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี

1.3. การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

2. แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ

2.1. การพัฒนาโปรแกรมขึ้นเอง (In-House/Custom Development)

2.1.1. ตอบสนองความต้องการแก่ผู้ใชมากที่สุด

2.1.2. ลดค่าใช้จ่ายในด้านของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์

2.1.3. ทีมพัฒนาระบบภายในมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กรเป็นอย่างดี

2.1.4. ผู้ใช้สามารถเรียกใช้บริการทีมงานภายในได้ทันที

2.1.5. หน่วยงานระบบสารสนเทศ ต้องมีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรและเวลา

2.1.6. เอกสารประกอบโปรแกรม และไดอะแกรมต่าง ๆ อาจจะจัดทำแบบไม่เป็นมาตรฐาน

2.1.7. ไม่เหมาะกับระบบที่มีความซับซ้อนสูง

2.2. การซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป (Package Software)

2.2.1. โปรแกรมสำเร็จรูปที่ซื้อมาสามารถนำมาใช้งานได้ทันที

2.2.2. คุณภาพโปรแกรมค่อนข้างดี

2.2.3. ปรับปรุงเวอร์ชันฟรีหรือเสียค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อย

2.2.4. ได้รับการบริการและคำปรึกษาจากบริษัทตัวแทนจำหน่าย

2.2.5. อาจจำเป็นต้องปรับกระบวนการทำงานให้เป็นไปตามโปรแกรม

2.2.6. ต้องคัดเลือกซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปจากบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือ

2.2.7. ค่าใช้จ่ายสูง ที่เป็นระบบใหญ่

2.2.8. ผู้ใช้งานในองค์กร ต้องได้รับการอบรมเพื่อใช้งานระบบ

2.3. การว่าจ้างบริษัทภายนอกพัฒนาระบบให้ (Outsourcing)

2.3.1. เหมาะสำหรับองค์กรที่ไม่มีความพร้อมด้านการพัฒนาระบบงานด้วยตนเอง

2.3.2. หน่วยงานได้ใช้ระบบงานที่ทันสมัย

2.3.3. ได้ระบบตามความต้องการ

2.3.4. ควบคุมค่าใช้จ่ายได้

2.3.5. ปรับปรุงให้มีความทันสัมยยิ่งขึ้น ทำได้ง่าย

2.3.6. บริษัทภายนอกที่มีศักยภาพสูงในประเทศไทยมีน้อย

2.3.7. ทำให้สูญเสียความลับขององค์กร

2.3.8. ต้องพึ่งพาบริษัทภายนอกเพื่อดูแลระบบให้

2.3.9. ได้รับแรงต่อต้านจากพนักงานภายใน และค่าใช้จ่ายสูง

3. ทีมพัฒนาระบบสารสนเทศ

3.1. คณะกรรมการดำเนินงาน (Steering Committee)

3.2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (MIS Manager)

3.3. ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)

3.4. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)

3.5. นักเขียนโปรแกรม (Programmer)

3.6. เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล (Information Center Personnel)

3.7. ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป (User & General Manager)

4. ความต้องการ

4.1. ชนิดของความต้องการ (Types of Requirements)

4.1.1. ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional requirements)

4.1.2. ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Nonfunctional requirements)

4.2. วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการ

4.2.1. การรวบรวมเอกสาร (Documentation)

4.2.2. การสังเกตการณ์จากกระบวนการเดินเอกสารในธุรกิจ (Observe and Document Business Processes)

4.2.3. การสัมภาษณ์และสนทนากับผู้ใช้ (Conduct Interviews and Discussions with Users)

4.3. การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirements Analysis)

4.3.1. ข้อกำหนดความต้องการ (Requirements Specification)

4.4. แหล่งรวบรวมความต้องการ (Stakeholders-The Source of System Requirements)

4.4.1. เจ้าของระบบ (System Owners)

4.4.2. ผู้ใช้ระบบระบบ (System Users / Client)

4.4.3. นักออกแบบระบบ (System Designers)

4.4.4. นักพัฒนาระบบ (System Developers)

4.4.5. นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysts)

4.4.6. ร้านค้าจำหน่ายอุปกรณ์ไอทีและที่ปรึกษา (IT Vendors and Consultants)

5. ขั้นตอนการพํฒนาระบบสารสนเทศ (Systems Development Life Cycles -SDLC)

5.1. การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Planning Phase of SDLC )

5.2. การวิเคราะห์ระบบ (Analysis Phase of SDLC)

5.3. การออกแบบระบบ (Design Phase of SDLC)

5.4. การดำเนินการระบบ (Implementation Phase of SDLC)

5.5. การบำรุงรักษาระบบ (Support Phase of SDLC)