แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ by Mind Map: แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้

1. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย

1.1. 1. ความรู้ (Knowledge)

1.2. 2. ความเข้าใจ (Comprehension)

1.2.1. 2.1 การแปลความ (Translation)

1.2.2. 2.2 การตีความ (Interpretation)

1.2.3. 2.3 การขยายความ (Extrapolation)

1.3. 3. การนำไปใช้ (Application)

1.4. 4. การวิเคราะห์ (Analysis)

1.4.1. 4.1 การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Elements)

1.4.2. 4.2 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationships)

1.4.3. 4.3 การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of Organizational Principles)

1.5. 5. การสังเคราะห์ (Synthesis)

1.6. 6. การประเมินค่า (Evaluation)

2. ความหมายของการเรียนรู้

2.1. การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง “การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ ค่อนข้างถาวร อันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์"

2.2. ประกอบด้วยคำสำคัญ 4 คำที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ได้แก่

2.2.1. 1) การเปลี่ยนแปลง

2.2.2. 2) พฤติกรรม

2.2.3. 3) ค่อนข้างถาวร

2.2.4. 4) การได้รับประสบการณ์

3. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

3.1. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เป็นความสามารถของบุคคล ในการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายทำงานอย่างประสานสัมพันธ์กัน

3.1.1. 1. รับรู้และเลียนแบบ (Imitation)

3.1.2. 2. ลงมือปฏิบัติและทำตามได้ (Manipulation)

3.1.3. 3. ลดความผิดพลาดจนสามารถทำได้ถูกต้อง (Precision)

3.1.4. 4. ปฏิบัติได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง (Articulation)

3.1.5. 5. ปฏิบัติได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization)

3.2. ลำดับขั้นการเกิดทักษะ ปฏิบัติของ Simpson ซึ่งมี 7 ขั้น ดังนี้

3.2.1. 1. การรับรู้ (Perception)

3.2.2. 2. การเตรียมความพร้อม (Set)

3.2.3. 3. การตอบสนองตามแนวชี้แนะ (Guided Response)

3.2.4. 4. การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง (Mechanism)

3.2.5. 5. การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex overt Response)

3.2.6. 6. การดัดแปลง (Adaptation)

3.2.7. 7. การริเริ่ม (Origination)

4. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย

4.1. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม

4.1.1. 1. ขั้นรับรู้ (Receiving)

4.1.2. 2. ขั้นตอบสนอง (Responding)

4.1.3. 3. ขั้นเห็นคุณค่า หรือสร้างค่านิยม (Valuing)

4.1.4. 4. ขั้นจัดระบบค่านิยม (Organization)

4.1.5. 5. ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม (Characterization)