
1. การพัฒนางานวิจัย
1.1. เพิ่มการวิจัยเฉพาะโรคฉุกเฉินเร่งด่วน
1.1.1. Stroke
1.1.2. STEMI
1.2. การเพิ่มประสิทธิภาพโปรแกรม Thai refer ตามบริบทรพ.
1.3. งานวิจัยควรมีการแยกส่วน..
1.3.1. Refer In - Out
1.3.2. การจัดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
1.3.3. ตัวชี้วัดผลลัพธ์การทำงานเทียบกับมาตรฐานเดิม
1.3.3.1. เวลา
1.3.3.2. สถิติ
2. ข้อเสนอแนะ
2.1. วิเคราะห์บทความ"การใช้ Referal Templates ผลการวิจัยไม่มีผลทางสถิติ
2.1.1. สาเหตุ
2.1.1.1. ปรับเพียงจุดเล็กๆในระบบ ไม่ได้ปรับทั้งระบบ(การสื่อสาร)
2.1.1.2. กบก.เกิดใหม่ไม่มีความแตกต่าง
2.1.1.3. มาตรฐานการดูแลเดิมดีอยู่แล้ว
2.1.1.4. Structure + Process of care
2.1.1.4.1. Refer In
2.1.1.4.2. Refer Out
2.1.1.5. Human ผู้ทำหน้าที่ Refer In
2.1.1.6. ระบบการ Key Refer (IT)
2.1.2. การแก้ไข
2.1.2.1. ควรมีการเพิ่ม Intervention ในการวัดคุณภาพ
2.1.2.2. ควรมีการแยกโครงสร้างRefer In/Out/process of care เพื่อติดตามคุณภาพการ Refer
2.1.2.3. Humam ผู้ทำหน้าที่ Referต้องมีศักยภาพ
2.1.2.4. กบก.ส่วน Pyorityต้องแยกความรุนแรงจุดสุดท้ายที่รับว่าเป็น ER or Ward
3. Process
3.1. การตรวจสอบข้อมูล ถูกต้อง/ครบถ้วน
3.2. กบก.การประเมินผู้ป่วยตาม CPG/การดูแลเฉพาะโรค
3.3. กบก.รับส่งผู้ป่วยจาก ต้นทาง-ปลายทาง
3.3.1. ระบบ Fast tack
3.3.2. Immagine