Get Started. It's Free
or sign up with your email address
HRM by Mind Map: HRM

1. การวิเคราะห์งาน (JOB ANALYSIS)

1.1. เป็นแนวทางที่จะต้องมีการวิเคราะห์การทำงานของอุปกรณ์วิธีการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ปฏิบัติเพื่อจะได้รู้ถึงมาตรฐานของงานและคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้น

1.1.1. 1. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีรวบรวมข้อมูลโดยผู้สัมภาษณ์ใช้วิธีตั้งคำถามกับผู้ตอบโดยการเลือกกลุ่มงานใดกลุ่มงานหนึ่งซึ่งอาจกระทำได้ทั้งสัมภาษณ์เป็นการส่วนตัวหรือสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม

1.1.2. 2. การตอบรับเชิญชวนที่พนักงานจมูกพูดบรรยายลักษณะงานที่สัมพันธ์และความสัมพันธ์ผู้ส่งคำตอบคือผู้ทำงานนั้นหรือผู้เป็นหัวหน้างานของผู้ทำงานนั้นก็ได้

1.1.3. 3. การสอนเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับงานที่มีกิจกรรมทางเดินที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนการไม่เหมาะสมกับงานที่ไม่สามารถมองเห็นการกระทำได้อย่างเช่นรวมกิจกรรมที่ต้องใช้ความคิด

1.1.4. 4. การบันทึกประจำวันเป็นรายการประจำวันเกี่ยวกับกิจกรรมของผู้ปฏิบัติงานตามช่วงเวลาต่างๆเพื่อให้ได้ความเข้าใจงานโดยให้พนักงานบันทึกประจำวันหรือรายการที่พนักงานปฏิบัติระหว่างวันในทุกกิจกรรมที่มีส่วนร่วม

2. เอกสารพรรณนาลักษณะงาน(JOB DESCRIPTION)

2.1. รายการแสดงถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับลักษณะงานและวิธีการในการปฏิบัติงานของการทำงานในตำแหน่งเท่านั้นซึ่งควรจะประกอบด้วยรายละเอียดรายละเอียด

2.1.1. 1. ลักษณะของงาน (Job Identification)

2.1.2. 2. กลอนย่อที่ของงาน (สรุปงาน)

2.1.3. 3. ภารกิจที่ต้องทำ (หน้าที่)

2.1.4. 4. ความสัมพันธ์กับงานอื่น (ความสัมพันธ์กับงานอื่น)

2.1.5. 5.เครื่องจักร/เครื่องมือ/เครื่องใช้/อุปกรณ์/วัสดุในการทำงาน (Equipments & Materials)

2.1.6. 6. สภาพ / ขั้นตอนในการทำงาน (สภาพการทำงาน)

2.1.7. 7. อื่น ๆ

3. เอกสารระบุข้อกำหนดงาน(JOB SPECIFICATION)

3.1. รายการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของโครงสร้างที่ต้องการสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นซึ่งควรจะรวมรายละเอียด

3.1.1. 1.คุณสมบัติทั่วไป

3.1.2. 2.ความรู้ความสามารถ

3.1.3. 3. บริการความชำนาญ

3.1.4. 4. แท่งพิเศษ

3.1.5. 5. สภาพทางร่างกาย / จิตใจ

3.1.6. -อื่นๆ

4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงาน

4.1. เพราะข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจะถูกนำมาใช้ศึกษาเพื่อให้เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความเหมาะสม และความสามารถในแต่ละงานเพิ่มที่จะพัฒนาและทำงานให้โครงสร้างได้ตรงตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ถ้าหากข้อมูลที่มานั้นขาดความถูกต้องและความสมบูรณ์

4.1.1. 1. การสังเกต เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากวิธีสังเกตจะช่วย ให้นักวิเคราะห์งานได้มูลจากสถานที่และผู้ปฏิบัติงานจริง

4.1.2. 2. การใช้แบบสอบถาม เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเก็บรวบรวมข้อมูล ของงาน เนื่องจากวิธีการส่งแบบสอบถามจะง่ายในการปฏิบัติ ประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดหา ข้อมูล

4.1.2.1. 1. แบบสอบถามแบบปลายเปิด เป็นแบบสอบถามให้ อิสระกับผู้ตอบ โดยผู้ตอบสามารถตอบคําถามตามความคิดเห็นของตนได้อย่างเต็มที่ โดยแบบสอบถาม แบบปลายเปิดจะถามคําถามเกี่ยวกับรายละเอียดของงาน กระบวนการ และขั้นตอนต่าง ๆ ในการปฏิบัติ เพื่อนํามาใช้เป็นพื้นฐานในการร่างเอกสารพรรณนาลักษณะงาน

4.1.2.2. 2. แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง

4.1.3. 3. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับงาน เนื่องจากนักวิเคราะห์สามารถที่สอบถามข้อมูลโดยตรงจากผู้ปฏิบัติงานจริง และผู้เกี่ยวข้องในมิติต่าง ๆ

4.1.3.1. 1.การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล ผู้สัมภาษณ์จะทําการ สัมภาษณ์บุคลากรแต่ละคนโดยการคัดเลือกผู้ที่มีความเหมาะสมขึ้นมา แล้วดําเนินการสัมภาษณ์เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลตามที่ต้องการ

4.1.3.2. 2. การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม นักวิเคราะห์งานจะทําการสัมภาษณ์ผู้ตอบคําถามโดยการคัดเลือกบุคลากรที่ต้องการขึ้นมาเป็นกลุ่ม แล้วถามคําถามพร้อมกันในเรื่องที่ต้องการศึกษา

4.1.4. 4. การประชุม วิธีการนี้จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ถูกนํามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของงาน โดยนักวิเคราะห์งาน จะทําการเชิญผู้ที่มีความรู้ ผู้ที่ปฏิบัติงาน หรือผู้มีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับงานที่ต้องการศึกษา เช่น หัวหน้า งาน บุคลากรที่ปฏิบัติงานร่วมกันในหน้าที่งานที่สนใจมาร่วมประชุมและแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับลักษณะงาน สิ่งแวดล้อม และปัญหาที่อาจจะพบในการทํางานนั้น ๆ

4.1.5. 5.การบันทึกงาน นักวิเคราะห์งานจะให้ผู้ปฏิบัติงานจดบันทึกรายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตนกระทําใน ช่วงเวลาปฏิบัติงานในแต่ละวัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการวิเคราะห์งาน

4.1.6. 6. การทดลองปฏิบัติ นักวิเคราะห์งานอาจจะทดลองปฏิบัติงานเองในสถานการณ์จริง เพื่อให้ได้รับทราบถึง ความรู้สึกของผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนรายละเอียดต่าง ๆ ที่อาจจะถูกละเลยจากการเก็บข้อมูลโดยวิธีการอื่น แต่วิธีการนี้มีขีดจํากัดตรงที่ต้องใช้ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายสูง

5. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์

5.1. เป็นกลยุทธ์สำคัญขององค์กรที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (HR) จะต้องใส่ใจดำเนินการอย่างรอบคอบและจริงจัง เพราะหากการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว บุคคลในองค์กรก็จะมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้การทำงานขององค์กรมีประสิทธิภาพตามมาด้วย แล้วแน่นอนว่าท้ายที่สุดองค์กรก็จะประสบความสำเร็จทั้งยังเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้มากยิ่งขึ้น ในจุดนี้ทั้งบุคลากรและองค์กรเองก็ก้าวหน้าไปพร้อมกันด้วย

6. การสรรหา (RECRUITMENT)

6.1. บุคลากรที่มีประสิทธิภาพจะทำให้การทำงานมีประสิทธิผลขึ้น ทำให้บริษัทก้าวหน้าขึ้นได้ ฝ่ายที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะหาคนที่มีประสิทธิภาพเข้ามาทำงานก็คือฝ่ายทรัพยากรบุคคล (HR) นั่นเอง และการที่จะหาบุคคลที่เหมาะสมได้ ฝ่าย HR ก็จำเป็นต้องศึกษา วางแผน ตลอดจนมีกลยุทธ์ในกระบวนการสรรหาบุคลากรที่ดี รวมถึงสื่อสารและเจรจาเพื่อให้เกิดแรงจูงใจที่ดีที่จะทำให้ผู้สมัครอยากร่วมงานกับบริษัท

7. ระบบคุณธรรม

7.1. เป็นวิธีการของบุคคลทั่วไปเข้าทำงานโดยใช้การตรวจสอบรูปแบบต่างๆเพื่อความรู้ความสามารถของบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามต้องการโดยไม่คิดถึงเหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็นสำคัญ

7.1.1. 1. ความเสมอภาคในโอกาส การเปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการสมัครงานสำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ประสบการณ์ และพื้นความรู้ตามที่ระบุไว้ โดยไม่มีข้อกีดกัน อันเนื่องจากฐานะ เพศ ผิว และศาสนา กล่าวคือทุกคนที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์จะมีสิทธิในการถูกพิจารณาเท่าเทียมกันความเสมอภาคในโอกาส จะครอบคลุมถึง

7.1.1.1. 1. ความเสมอภาคในการสมัครงาน

7.1.1.2. 2. ความเสมอภาคในเรื่องค่าตอบแทน

7.1.1.3. 3. ความเสมอภาคที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอหน้ากันโดยใช้ระเบียบและความเท่าเทียมกันทุกเรื่อง

7.1.2. 2 .หลักความสามารถ การยึดถือความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุดโดยจะบรรจุแต่งตั้งผู้ที่มีความเหมาะสมตามเกณฑ์มากกว่า เพื่อให้ได้คนที่เหมาะกับงานจริงๆ

7.1.3. 3. หลักความมั่นคงในอาชีพการงาน หลักประกันการปฏิบัติงานที่องค์การให้แก่บุคลากรว่าจะได้รับการคุ้มครอง จะไม่ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกให้ออกจากงานโดยปราศจากความผิด ไม่ว่าจะโดยเหตุผลส่วนตัวหรือทางการเมือง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นคงในหน้าที่

7.1.3.1. 1.การดึงดูดใจ

7.1.3.2. 2.การธำรงรักษา

7.1.3.3. 3. การจูงใจ

7.1.3.4. 4.การพัฒนา

8. การคัดเลือก(SELECTION)

8.1. ระบวนการที่องค์การใช้เครื่องมือต่างๆ มาดำเนินการพิจารณาคัดเลือกผู้สมัครจำนวนมากให้เหลือตามจำนวนที่องค์การต้องการ ฉะนั้นการคัดเลือกจำเป็นที่จะต้องมีเกณฑ์กำหนดขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการ พิจารณาให้ได้คนที่มีคุณสมบัติตรงกับงานที่เปิดรับ

8.1.1. ความสำคัญของการคัดเลือก

8.1.1.1. 1. ผู้บริหารมีความรอบรู้มากขึ้นมีความเข้าใจในด้านความลับของการอบรมเรียนรู้เกี่ยวกับข้อควรเกี่ยวกับหลักการในการเลือกคนรู้ถึงความน่าจะเป็นของความคาดหวังในการใช้แบบทดสอบและการสัมภาษณ์

8.1.1.2. 2.ลักษณะของกฎหมายแรงงานได้มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ฉะนั้นในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ต้องคำนึงถึงความซับซ้อนและกฎระเบียบต่างๆที่กำหนดในกฎหมายด้านการว่าจ้าง

8.1.1.3. 3.การคัดเลือกเป็นงานี่มีลักษณะพิเศษและมีความยากลำบาก เพราะการกำหนดภาระหน้าที่และพฤติกรรมของบุคคลในงานที่ทำนั้น เป็นการกล่าวในลักษณะกว้างๆไว้ใน Job Description และ Job Specification

8.1.1.4. 4. บางครั้งหากจะให้ความลำบากกับพนักงานบางคนที่โรงพยาบาลมาไรพบว่ามีค ณ ลักษณะไม่เหมาะสมก็ไม่สามารถให้พ้นจากงานได้และถ้าสามารถให้พ้นจากงานในระยะแรกพนักงานเหล่านี้ก็ทำได้ ใช้วิธีการร้องทุกข์กลับเข้าทำงาน

8.1.1.5. 5. การพัฒนาที่มีคุณธรรมย่อมให้เกิดความคุ้มค่าแก่ชราเป็นอย่างยิ่ง

8.2. กระบวนการคัดเลือกมีลำดับขั้นตอนดังนี้

8.2.1. 1. การต้อนรับผู้สมัคร

8.2.2. 2 การทดสอบ

8.2.3. 3 การสัมภาษณ์

8.2.4. 4 การตรวจสอบภูมิหลัง

8.2.5. 5 การตรวจสุขภาพ

8.2.6. 6 การประชุมปรึกษาการพิจารณา

8.2.7. 7 ทดลองการปฏิบัติงาน

9. ระบบอุปถัมภ์

9.1. ระบบอุปถัมภ์เป็นระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานโดยใช้เหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์เป็นหลักสำคัญ โดยไม่คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมเป็นประการหลักลักษณะทั่ว ๆ ไป ของระบบอุปถัมภ์จึงมีลักษณะตรงกันข้ามกับระบบคุณธรรม

9.1.1. 1.ระบบสืบสายโลหิตเป็นระบบที่บุตรชายคนโตจะได้ตำแหน่งของตำแหน่ง

9.1.2. 2 ระบบชอบพอเป็นพิเศษ เป็นระบบที่แต่งตั้งผู้ที่อยู่ใกล้ชิด หรือคนที่โปรดปรานเป็นพิเศษให้ดำรงตำแหน่ง

9.1.3. 3 ระบบแลกเปลี่ยนเป็นระบบที่ใช้สิ่งของหรือมีค่ามาแลกเปลี่ยนกับตำแหน่งการบริหารระบบปฏิบัติการแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในประเทศจะเกิดขึ้น

9.1.3.1. 1 การพิจารณาใบสั่งเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งเป็นไปตามความงามส่วนบุคคลของหัวหน้าเป็นหลักไม่ได้ถึงความผิดปกติส่ามารถของบุคคลเป็นกลไก

9.1.3.2. 2 การคัดเลือกคนไม่เปิดโอกาสที่คบกันแก่ผู้ที่มีสิทธิ์ แต่จะให้โอกาสกับพวกพ้องแตรก่อน

9.1.3.3. 3 ผู้ควบคุมงานหลักทำงานเพื่อให้ผู้ที่ยึดอำนาจมากกว่าจะปฏิบัติตามหน้าที่

9.1.3.4. 4 คุมทางการเมืองเข้ามาการดำเนินการงานของสั่งซื้องาน

9.1.3.5. 5 ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ที่กำลังทำอยู่เพราะอาจถูกปลดได้หากผู้มีอำนาจไม่พอใจ