คู่มือ 3Rs กับการจัดของเสียภายในโรงงาน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คู่มือ 3Rs กับการจัดของเสียภายในโรงงาน by Mind Map: คู่มือ 3Rs กับการจัดของเสียภายในโรงงาน

1. กฎหมายที่ควบคุมการจัดการกากอุตสาหกรรมของโรงงานผู้ก่อกําเนิด (Waste generator : WG)

1.1. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

1.2. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

1.3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535

1.4. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

2. ประเภทของเสีย จําแนกตามแหล่งกําเนิด

2.1. ของเสียจากกระบวนการผลิตหลัก

2.1.1. เกิดจากขั้นตอนต่างๆ การทำผลิตภัณฑ์

2.2. ของเสียจากกระบวนการสนับสนุนการผลิต

2.2.1. ระบบผลิตน้ําประปา

2.2.2. ระบบผลิตไอน้ํา

2.2.3. การซ่อมบํารุง

2.2.4. ระบบบําบัดน้ําเสีย

2.2.5. ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์

2.3. ของเสียจากสํานักงาน บ้านพักอาศัย และโรงอาหารในบริเวณโรงงาน

2.3.1. หมึกพิมพ์เสื่อมสภาพ

2.3.2. แบตเตอรี่จากอุปกรณ์สำนักงาน

2.3.3. กระป๋องน้ําอัดลม ขวดน้ํา ถุงพลาสติก

2.3.4. กระป๋องน้ําอัดลม ขวดน้ํา ถุงพลาสติก

2.4. ประเภทของเสีย จําแนกตามความเป็นอันตราย

2.4.1. ของเสียอันตราย

2.4.1.1. สารไวไฟ

2.4.1.2. สารกัดกร่อน

2.4.1.3. สารพิษ

2.4.2. ของเสียที่ไม่เป็นอันตราย

3. หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการของเสีย

3.1. กรณีที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดการของเสียเองภายในโรงงาน

3.1.1. การฝังกลบ

3.1.1.1. ต้องได้รับความเห็นชอบจาก กรอ.

3.1.2. การเผาของเสีย

3.1.2.1. ห้ามเผาของเสียที่เป็นอันตราย เว้นแต่จะได้รับ ความเห็นชอบจาก กรอ.

3.1.3. การจัดการวิธีอื่นๆ

3.1.3.1. การหมักทําปุ๋ย

3.1.3.2. การถมที่

3.1.3.3. การนํากลับไปใช้ประโยชน์อีก

3.1.3.4. จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก กรอ.

3.2. กรณีที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องการขอนุญาตนําของเสียออกนอกบริเวณโรงงาน

3.2.1. มีวิธีการจัดการของเสีย5 ประเภท ที่เป็นไปตามหลัก3Rs

3.2.1.1. การคัดแยก(Sorting

3.2.1.1.1. การคัดแยกประเภทเพื่อจําหน่ายต่อ (Sorting)

3.2.1.2. การนํากลับ มาใช้ซ้ํา(Reuse)

3.2.1.2.1. การใช้เป็นวัตถุดิบทดแทน

3.2.1.2.2. การส่งกลับผู้ขายเพื่อนำากลับไปบรรจุใหม่หรือใช้ซ้ำ

3.2.1.3. การนํากลับมาใช้ประโยชน์อีก (Recycle)

3.2.1.3.1. การใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน

3.2.1.3.2. การใช้เป็นเชื้อเพลิงผสม

3.2.1.3.3. เผาเพื่อเอาพลังงาน

3.2.1.3.4. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์

3.2.1.4. การนํากลับคืนมาใหมา (Recovery

3.2.1.4.1. การนําเข้ากระบวนการนําสารตัวทําละลายกลับมาใหม่

3.2.1.4.2. การนําเข้ากระบวนการนําโลหะกลับมาใหม่

3.2.1.4.3. การนําเข้ากระบวนการคืนสภาพกรดด่าง

3.2.1.5. การนําไปใช้ประโยชน์ ด้วยวิธีอื่นๆ

3.2.1.5.1. การนําไปถมที่

3.2.1.5.2. การหมักทําปุ๋ยหรือสารปรับปรุงดิน

3.2.1.5.3. การทําอาหารสัตว์

4. การจัดการของเสียแบบผสมผสาน

4.1. Reduction ลดการเกิดของเสีย

4.2. Reuse นํากลับมาใช้ซ้ํา

4.3. Recycleหมุนเวียนใช้ประโยชน์ตามศักยภาพ/นํากลับมาใช้ใหม่

4.4. Treatmentบําบัดของเสียที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก

4.5. Disposa กําจัดอย่างปลอดภัย

5. แนวปฏิบัติที่ดีสําหรับการคัดแยกและจัดเก็บของเสียที่เกิดขึ้น

5.1. การคัดแยกของเสีย

5.1.1. คัดแยกตามประเภท/ชนิด

5.1.2. เสียอันตรายที่ต้องทิ้งในภาชนะที่เหมาะสม

5.2. การจัดเก็บของเสีย

5.2.1. จัดเก็บของเสียไว้ภายในอาคารที่มั่นคง แข็งแรง

5.2.2. แยกจัดเก็บของเสียที่เป็นอันตรายออกจากของเสียที่ไม่เป็นอันตราย

5.2.3. ใช้ภาชนะบรรจุของเสียที่เหมาะสมกับลักษณะสมบัติของเสีย

5.2.4. ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุของเสียให้ชัดเจน

5.2.5. มีขอบเขื่อน/คันกั้น (Bun) เพื่อป้องกันการรั่วไหล

5.2.6. มีระบบป้องกันและระงับเหตุฉุกเฉินในบริเวณที่มีความเสี่ยง

6. 3R คืออะไร

6.1. R1-Reduce การลดหรือใช้น้อย

6.2. R2-Reuse การใช้ซ้ํา

6.3. R3-Recycle การแปรรูปมาใช้ใหม่

7. ขั้นตอนการประขั้นตอนการประยุกต์ใช้หลัก 3R

7.1. มีความมุ่งมั่น ในการดําเนินงาน

7.2. กําหนดแนวทาง และเป้าหมายชัดเจน

7.3. มีการดําเนินงาน อย่างเป็นระบบ

7.4. มีการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

8. หน้าที่ของโรงงานผู้ก่อกําเนิดในการจัดการของเสีย

8.1. การครอบครองของเสีย

8.1.1. ต้องไม่ครอบครองของเสียไว้ภายในโรงงานเกินระยะเวลา 90 วัน

8.1.2. กรณีที่ครอบครองของเสียอันตรายให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกํากับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ. 2547

8.2. การควบคุมดูแลการจัดการของเสีย

8.2.1. ต้องจัดทำาแผนการปองกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน

8.2.2. ต้องแยกเก็บของเสียอันตรายไว้ในที่รองรับต่างหากที่เหมาะสมและมีฝาปิดมิดชิด

8.2.3. ต้องจัดให้มีการกําจัดของเสียโดยเฉพาะด้านด้วยวิธีการที่ปลอดภัย และไม่ก่อให้เกดความเดือดร้อนรําคาญ

8.2.4. ต้องมีผู้ควบคุมดูแลระบบป้องกันสิ่งแวดล้อม ที่มีความรู้เฉพาะด้าน

8.3. การนําของเสียออกไปบําบัด/กําจัดนอกโรงงาน

8.3.1. ต้องขออนุญาตการนําของเสียออกนอกบริเวณโรงงาน โดยใช้แบบ สก.2

8.3.2. ต้องส่งของเสียที่เป็นอันตรายให้แก่ผู้รวบรวมและขนส่ง หรือผู้บำบัดและกําจัดของเสียที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น

8.4. การขนส่งของเสียออกนอกโรงงาน

8.4.1. ให้แจ้งข้อมูลการขนส่งของเสียทุกชนิดผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

8.4.2. เมื่่อมีการนำของเสียอันตรายออกนอกบริเวณโรงงานต้องมีใบกำกับการขนส่ง

8.5. การบําบัด/กําจัดของเสียภายในบริเวณโรงงาน

8.5.1. ต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการของเสียตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กรอ. กําหนด

8.5.2. ต้องมีข้อมูลผลวิเคราะห์ทางเคมีและกายภาพของของเสียก่อนการบำบัดหรือกําจัด

8.5.3. ต้องส่งรายงานประจําปีให้แก่กรอ. ตามแบบ สก.5

8.6. ความรับผิดชอบต่อของเสีย

8.6.1. ต้องตรวจสอบของเสียและต้องรับผิดชอบต่อภาระความรับผิด

8.6.2. ร่วมรับผิดกรณีแต่งตั้งผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตราย

8.7. การรายงานผล

8.7.1. ต้องส่งรายงานประจําปีให้แก่กรอ. ตามแบบสก.3 ภายในวันที่ 1 มีนาคมของปีถัดไป

9. แนวปฏิบัติที่ดีสําหรับการลดของเสียกับการลดของเสียที่แหลางกําเนิด

9.1. การออกแบบผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีการผลิต

9.1.1. ออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้เงื่อนไขการลดของเสียจากกระบวนการผลิตให้น้อยลง

9.1.2. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีขั้นตอนน้อยลงหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้มีการใช้ ทรัพยากรในกระบวนการผลิตน้อยลง

9.1.3. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม เพื่อลดปัญหาการกําจัดของเสียที่เป็นบรรจุภัณฑ

9.2. การบริหารจัดการวัตถุดิบและการขนส่งวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์

9.2.1. เลือกใช้วัตถุดิบที่มีความบริสุทธิ์มากขึ้น (มีสิ่งปนเปื้อนมากับวัตถุดิบน้อย)

9.2.2. มีมาตรฐานของวัตถุดิบ และนํามาใช้ตั้งแต่กระบวนการจัดหาและสั่งซื้อวัตถุดิบ

9.2.3. วางแผนการผลิตและบริหารปริมาณวัตถุดิบคงคลังที่เหมาะสม

9.2.4. ใช้ระบบเข้าก่อน-ออกก่อน

9.2.5. ควบคุมปริมาณวัตถุดิบโดยใช้เทคนิคการควบคุมด้วยการมองเห็น

9.2.6. ใช้อุปกรณ์ขนถ่ายวัตถุดิบที่เหมาะสมทั้งในระหว่างการขนส่ง และการจัดเก็บก่อนนํามาใช้งาน

9.3. การบริหารจัดการผลิต

9.3.1. วิเคราะห์กระบวนการผลิตโดยใช้ Operation process chart

9.3.2. ปรับเปลี่ยนวิธีการ/กลไกในการผลิตเพื่อลดความซับซ้อนของขั้นตอนการผลิต และลดการ สูญเสียวัตถุดิบ

9.3.3. บํารุงรักษาเครื่องจักรให้มีสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา

9.3.4. ปรับปรุงคุณภาพเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ผลิต

9.3.5. มีการบริหารการจัดการที่ดีและวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง

9.3.6. มีมาตรฐานการปฏิบัติงานในขั้นตอนที่สําคัญหรือจุดที่เสี่ยงต่อการเกิดของเสีย

9.3.7. ควบคุมให้พนักงานปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานในทุกขั้นตอน