เบาหวานชนิดที่ 2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เบาหวานชนิดที่ 2 by Mind Map: เบาหวานชนิดที่ 2

1. Diabetis genes

1.1. Insulin secretion genes

1.2. การแสดงออกบน บีต้าเซลล์

1.2.1. เบาหวานกลุ่มMODYตรวจไม่พบKetoneมีการกลายพันธ์ที่ควบคุมของการสร้างEnzyme glucokinase

1.3. Insulin resistance genes

1.3.1. มี Mutation ของ genesอย่างมาก

1.3.2. เกิดMultation ของgenesตัวอื่นได้แก่ GLUT-4,Glycoglygen sinthase,calpain-10

1.4. body wigth genes

1.4.1. leptin ไปจบกับrecepter ในHypothalamus เผื่อควบคุมการอยากอาหาร การได้รับพลังงาน การกินหรือแีดinsulinเข้าไปmRNA ของLeptin สูงขึ้น

1.5. Genesอื่นๆ

1.5.1. เบาหวานชนิดที่2 มีการสะสมของ Amylinในเซลล์ของตับอ่อนแต่การสะสมของAmylinเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรค

2. สาเหตุ

2.1. กรรมพันธุ์

2.1.1. มารดาเป็นเบาหวาน

2.1.2. อายุมากขึ้น

2.1.2.1. ผู้ป่วยอายุ 65 ปี

2.2. มีความเครียด

2.3. น้ำหนักเกิน/ความอ้วน

2.3.1. BMI= 29.43 kg/m2

3. พยาธิการเกิดโรคเบาหวาน Type2

3.1. Insulin resistance

3.1.1. มีระดับ Insulin สูง

3.1.2. มีระดับ Triglyceride สูง แต่ HDL ต่ำ

3.1.3. ความดันสูง

3.2. สูญเสียหน้าที่ของ บีต้าเซลล์

3.2.1. มีภาวะ Hyperglycemia

3.2.2. มีระดับของกรดไขมันอิสระใน serum สูง

3.2.3. การหลั่ง Insulin ผิดปกติ

3.2.3.1. การคั่งของกรด lactate

4. ผลข้างเคียงจากยา

4.1. Regular Insulin

4.1.1. ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ อาการแสดงที่สำคัญ ใจสั่น ใจหวิว หน้ามืด ตาลายเหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติหรือชักได

4.2. Cloxacillin

4.2.1. 1. ลมพิษ บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก

4.2.2. 2. หน้ามืด เป็นลม แน่นหน้าอก หายใจลำบาก

4.2.3. 3. ผื่นแดง ตุ่มพอง ผิวหนังหลุด ลอก มีจ้ำตามผิวหนัง หรือ เลือดออกผิดปกติ

4.2.4. 4. ไข้สูงและเจ็บคอหลังกินยานี้ ติดต่อกัน 10 วันขึ้นไป

4.2.5. 5. เหนื่อยง่าย เป็นหวัดได้ง่าย

4.2.6. 6. ตัวเหลือง ตาเหลือง

4.2.7. 7. ปัสสาวะไม่ออก ปวดหลัง ปัสสาวะขุ่นหรือมีเลือดปน

4.2.8. 8. ท้องเสียรุนแรง ถ่ายเป็นน้ำหรือ เลือด

4.3. Metformin

4.3.1. ยับยั้ง hepatic gluconeogenesisทำให้เกิดการคั่งของสาร lactateเกิดภาวะlactic acidosis

4.3.2. ยับยั้งการทำงานของ enzyme pyruvate carboxylaseที่ทำหน้าที่ในการสร้างกลูโคสจากสาร lactate จึงทำให้เกิดการคั่งของสาร lactate

4.3.3. ลำไส้เล็กบริเวณหลอดเลือดsplanchnicเปลี่ยน aerobic เป็น anaerobic metabolismทำให้เปลี่ยนกลูโคสเป็นสาร lactate

4.4. KCl

4.4.1. คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องอืด จุกเสียดท้อง หรือสังเกตเห็นยา โพแทสเซียมคลอไรด์ปะปนออกมา กับอุจจาระ

4.5. Norfloxacin

4.5.1. อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ท้องเสีย ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ มีผื่นคัน มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ

4.6. Paracetamol

4.6.1. 1. กรณีเกิดพิษเฉียบพลันจาก paracetamolอาการที่พบภายใน 24 ชั่วโมง แรกคือ คลื่นไส้อาเจยีน ปวดท้อง เหงื่อออก ง่วงซึม สับสน ความดันต่ำ หัว ใจเต้นผิดจังหวะ

4.6.2. 2. ถ้าได้รับปริมาณ paracetamol สูงมากเกิน 10 กรัม (140 มลิลิ กรัม /น้ำ หนักตัว 1 กก.) จะทำ ให้เกิด ภาวะตับเป็นพิษ โคม่า และ เสียชีวิต

4.7. Diamicron

4.7.1. 1. ทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำ

4.7.2. 2. คลื่นไส้, อาเจียน

4.7.3. 3. ตับอักเสบ

4.7.4. 4. ผิวหนังมีผื่นคัน

4.7.5. 5. โลหิตจาง, เกล็ดเลือดต่ำ, เม็ด เลือดขาวต่ำ

4.7.6. 6. เกลือแร่และโซเดียมต่ำ

4.8. Enalapril

4.8.1. 1. ทำให้ผู้ป่วยสับสนมึนงง

4.8.2. 2. มีอาการคล้ายอาการหน้ามืด, รู้สึกเหนื่อย, ไอ

4.9. Atrovastatin

4.9.1. 1. มีการติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ

4.9.2. 2. นอนไม่หลับ ปวดกล้ามเนื้อแขน และขา

4.9.3. 3. กล้ามเนื้อแข็งเกร็งและคลื่นไส้ อาเจียน

4.10. Aspirin gr V

4.10.1. 1. ปวดศีรษะ, ง่วงซึม,

4.10.2. 2. ระคายเคืองกระเพาะอาหาร

5. ปัจจัยเสี่ยง

5.1. อายุมากกว่า 45 ปี

5.2. มีประวัติเป็นเบาหวานในครอบครัว

5.3. คนที่มีมวลกายเกินค่า BMI

5.4. ความดันโลหิตสูง

5.5. ไม่ออกกำลังกาย

6. อาการของเบาหวาน

6.1. กระหายน้ำมาก

6.2. ปากแห้ง

6.3. ปัสสาวะบ่อย

6.4. น้ำหนักลด

6.5. สายตาพร่ามัว

6.6. เหนื่อยมาก

6.7. ชาตามปลายมือปลายเท้า

6.8. บาดแผลหลังเท้าหายยาก

6.9. อาเจียน อ่อนเพลีย ง่วงซึม

6.10. บางรายอาจมีอาการหมดสติ

7. ผลทางห้องปฏิบัติการ

7.1. HbA1C >7

7.2. Urine ketone -Ve

7.3. Serum osmolarity = 388 mOsm/dL

7.3.1. HHNS

7.3.1.1. MALA

7.4. Serum ketone = Negative

7.5. FBS > 110 mg/dL

7.6. DTX stat = 830 mg%

8. ภาวะแทรกซ้อน

8.1. เฉียบพลัน

8.2. เรื้อรัง

8.2.1. ต้อกระจก

8.2.2. กรวยไตอักเสบและไตเสื่อม

8.2.3. Hypertension

8.2.4. หลอดเลือดสมองตีบตัน

8.2.5. ไขมันในเลือดสูง

8.2.6. ปลายประสาทเสื่อม

8.2.7. ติดเชื้อ

8.2.7.1. ติดเชื้อNemerous E.coli ในปัสสาวะ