นางสมหญิง อู่ไทย อายุ 69 ปี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นางสมหญิง อู่ไทย อายุ 69 ปี by Mind Map: นางสมหญิง อู่ไทย อายุ 69 ปี

1. สรุปผลแบบประเมินสำหรับผู้สูงอายุ

1.1. 1. ADL index = 20 ไม่เป็นภาวะพึ่งพา

1.2. 3.MMSE-Thai 2002 = 26 ไม่มีภาวะสมองเสื่อม

1.3. 2. risk assessment tool = 1.5 ความเสี่ยงอยู่ในระดับ1

1.4. 4. Mini Nutritional Assessment: MNA = 12 มีภาวะโภชนาการปกติ

1.5. 5. Thai Geriatric Depression Scale: TGDS = 2 ผู้สูงอายุปกติ

1.6. 6.PSQI = 5 คุณภาพการนอนหลับดี

1.7. 7.แบบประเมิน Health Literacy

1.7.1. -ความรอบรู้ด้านสุขภาพตาม 3อ.2ส. = 46 ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพเพียงพอและอาจจะมีการปฏิบัติตนตาม 3อ.2ส. ได้ถูกต้องบ้าง

1.7.2. -พฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ.2ส. = 27 มีพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเองตาม 3อ.2ส. ได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอ

2. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

2.1. 1. เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม เนื่องจากร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ

2.1.1. วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ

2.1.2. เกณฑ์การประเมินผล : 1.ผู้สูงอายุสามารถอธิบายการปฏิบัติตัวได้มากกว่า 50% 2. ไม่เกิดอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ

2.1.3. กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมิน ADL 2.ประเมินภาวการณ์หกล้มโดยใช้ TUGT , Fall risk และประเมินสภาพร่างกาย 3.ให้คำแนะนำการป้องกันการหลัดตกหกล้มจากปัจจัยเสริมใช้แนวทาง 5 ป. 4.ให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ 5. แนะนำขั้นตอนการออกกำลังกายป้องกันการล้ม

2.2. 2. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากปัสสาวะกลางดึก

2.2.1. วัตถุประสงค์ : 1.ผู้สูงอายุนอนหลับพักผ่อนได้เพียงพอ 2.ลดความไม่สุขสบายจากการต้องตื่นขณะนอนหลับเพื่อมาปัสสาวะ

2.2.2. เกณฑ์การประเมิน : 1.ผู้สูงอายุสามารถนอนหลับพักผ่อนได้ 6-8 ชั่วโมง/วัน 2.ผู้สูงอายุไม่ตื่นกลางดึกเพื่อปัสสาวะ (ไม่ปวดปัสสาวะกลางดึก) 3.ไม่ง่วงซึม ขณะทำกิจกรรมระหว่างวัน

2.2.3. กิจกรรมการพยาบาล 1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ 2.ซักถามและประเมินคุณภาพการนอนหลับ (PSQI) 3.ควรงดการดื่มน้ำก่อนนอนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง และแนะนำให้ปัสสาวะก่อนเข้านอน 4.ผ่อนคลายกล้ามเนื้อก่อนนอน เช่น การนวดให้ร่างกายผ่อนคลาย การแช่น้ำอุ่น 5.หลีกเลี่ยงอาหารมื้อหนักก่อนนอน เพราะจะทำให้ปวดท้อง ถ้าท้องว่างเเนะนำให้รับประทานอาหารเบาๆ เช่น ขนมปังชิ้นเล็ก นมอุ่น หรือน้ำผลไม้ 6.เข้านอนให้ตรงเวลา 7.ก่อนนอนควรทำสมองให้โล่ง ปลอดโปร่ง ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย 8.หากนอนไม่หลับ ให้ไปทำกิจกรรมเบาๆ เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง หรือนั่งสมาธิ 9.จัดที่นอนให้เหมาะสม สบายเหมาะแก่การนอน เงียบสงบ อุณหภูมิที่เย็นสบายพอเหมาะ 10.หลีกเลี่ยงการนอนกลางวัน หรือการใช้ยาที่ทำให้เกิดอาการง่วงซึมในช่วงกลางวัน 11.หลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ ชาที่มีคาเฟอีน หรือน้ำอัดลม 12.ไม่ควรออกกำลังกายก่อนนอน เพราะจะทำให้ร่างกายมีการตื่นตัว นอนไม่หลับ

2.3. 3. ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากระดับน้ำตาลสะสมในเลือดสูง

2.3.1. วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากระดับน้ำตาลสะสมในเลือดสูง

2.3.2. เกณฑ์การประเมินผล : 1.ผู้สูงอายุไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากระดับน้ำตาลสะสมในเลือดสูง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง เบาหวานขึ้นตา ชาตามปลายมือปลายเท้า 2. ระดับHbA1C < 8.9%

2.3.3. กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินการมองเห็น, ADL, TUGT, Fall risk เพื่อประเมินความสามารถและความถี่ในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ 2. แนะนำออกกำลังกาย 4-5 วันต่อสัปดาห์ นานอย่างน้อย 30 นาที 3. ให้คำแนะนำการออกกำลังกายแบบแกว่งแขน 4. ให้คำแนะนำการออกกำลังกายแบบสมาธิบำบัด SKT

2.4. 4. ส่งเสริมความรู้ด้านการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส

2.4.1. วัตถุประสงค์ : 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส

2.4.2. เกณฑ์การประเมิน :1.ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส มากขึ้น 2.แบบประเมิน Health Literacy ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพตาม 3อ.2ส. ได้ > 46 คะแนน

2.4.3. กิจกรรมการพยาบาล 1. แบ่งการรับประทานอาหารเป็น 4-5 มื้อต่อวัน 2. อาหารควรเป็นอาหารที่เคี้ยวง่าย รสไม่จัดมากการรับประทานอาหารขณะร้อนจะกระตุ้นให้ความอยากอาหารเพิ่มขึ้น 3. ลดอาหารที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เป็นต้น เน้นรับประทานผัก ผลไม้ ทุกมื้อ เพื่อช่วยกระตุ้นระบบขับถ่ายของร่างกาย 4. ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว 5. ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 20 – 30 นาที 3-5 วันต่อสัปดาห์ โดยออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยึดหยุ่น และเพิ่มความแข็งแกร่ง ให้กับร่างกาย 6. แนะนำการควบคุมอารมณ์ให้ไม่มีความเครียด เช่น มองโลกในแง่ดี มองคุณค่าในตนเองและผู้อื่น ทำงานอดิเรกที่ชอบ เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 7.ใช้นวัตกรรมปฏิทิน สร้างสุข ลดน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน และปฏิทินความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแล ป้องกันภาวะแทรกซ้อน

3. ข้อมูลทั่วไป

3.1. สถานภาพและระดับการศึกษา

3.1.1. สถานภาพหม้าย ระดับการศึกษา ป.4

3.2. อาชีพ รายได้

3.2.1. ธุรกิจส่วนตัวและอสม. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,000บาท

3.3. น้ำหนัก ส่วนสูง

3.3.1. น้ำหนัก 51 กิโลกรัม ส่วนสูง 152 เซนติเมตร BMI 22.07 kg/m2

3.4. โรคประจำตัว

3.4.1. DM,DLP ตรวจพบเมื่อ 10 ปีก่อน รับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช

3.5. ยาที่ใช้ประจำ

3.5.1. 1.Metformin tab 500 mgรับประทาน วันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 เม็ดหลังอาหารเช้า และ 1 เม็ด หลังอาหารเย็น 2.Simvastatin tab 20 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละครั้งก่อนนอน

3.6. สัมพันธภาพกับครอบครัวและเพื่อนบ้าน

3.6.1. มีการดูแลช่วยเหลือกันดีในครอบครัว มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนบ้านและผู้คนในชุมชน

4. การดูแลตนเอง

4.1. ด้านร่างกาย

4.1.1. รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอและไปตรวจตามนัดทุกครั้ง

4.1.2. แบบประเมิน ADL = 20 คะเนน ผู้สูงอายุไม่มีภาวะพึ่งพา

4.2. ด้านการรับประทานอาหาร

4.2.1. รับประทานอาหาร 2 มื้อ มื้อเช้าดื่มกาแฟดำกับผลไม้ รับประทานอาหารมื้อกลางวัน ช่วงเวลา 11.30-12.00 น. และมื้อเย็นเวลา 18.00 น.

4.2.2. รับประทานอาหารสุก เน้นโปรตีน ลดแป้ง ไม่ใส่น้ำตาล เช่น ต้มจืด แกงเลียง น้ำพริก ผักต้ม

4.2.3. ดื่มน้ำประมาณวันละ 5-6 แก้วต่อวัน

4.3. ด้านการขับถ่าย

4.3.1. ปัสสาวะวันละ 2-3 ครั้ง กลางวัน 2 ครั้ง และกลางคืน 1 ครั้ง การขับถ่ายอุจจาระวันละ 1 ครั้ง มีลักษณะปกติ

4.4. ด้านการออกกำลังกาย

4.4.1. เดินออกกำลังกายทุกวันในช่วงเช้าเวลาประมาณ 06.00 น. ทุกวัน อย่างน้อย 1 ชั่วโมง

4.5. การพักผ่อนนอนหลับ

4.5.1. เข้านอนเวลา 21.00 น. และตื่นนอนเวลา 05.00 น. เฉลี่ย 7-8 ชั่วโมง/วัน

4.6. ด้านจิตใจ

4.6.1. ผู้สูงอายุมีสีหน้าสดใส เป็นคนอารมณ์ดี ให้ข้อมูลว่าไม่มีความเครียดหรือวิตกกังวล หากมีความเครียดสามารถจัดการได้

4.6.2. แบบประเมิน TGDS = 2 คะแนน แปลผลได้ว่า ผู้สูงอายุปกติ ไม่มีภาวะซึมเศร้า

5. การปรับตัวตั้งแต่เริ่มเข้าสูงอายุจนปัจจุบัน

5.1. แรกเกิด

5.1.1. แรกเกิดเป็นบุตรคนสุดท้อง มีพ่อและแม่คอยดูแลเอาใจใส่ ให้ความรักความอบอุ่น

5.2. อายุ 10 ปี

5.2.1. เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่4 ที่อำเภอบางกระทุ่ม และได้มาช่วยที่บ้านทำนา

5.3. อายุ 18 ปี

5.3.1. ได้พบเจอคนรักที่อยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน และได้แต่งงานเป็นสามีภรรยากันถูกต้องตามกฎหมาย

5.4. อายุ 19 ปี

5.4.1. ได้คลอดบุตรคนแรกเป็นเพศชาย และได้ย้ายมาอยู่ในเมืองพิษณุโลกเพื่อทำงานรับจ้างทั่วไป และสามีมีอาชีพรับราชการตำรวจ

5.5. อายุ 23 ปี

5.5.1. สามีได้เสียชีวิตจากการยิงตัวตาย ทำให้ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลำพังโดยทำอาชีพ รับจ้างทั่วไป เช่น เย็บผ้า มีพ่อและแม่คอยช่วยดูแล

5.6. อายุ 50 ปี

5.6.1. เริ่มมีริ้วรอย ฝ้า กระ สายตาเริ่มพร่ามัว ผิวหนังแห้ง ฟันผุมีการเปลี่ยนมาใช้ฟันปลอม มีอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย มีอาการหลงลืมในบางช่วง

5.7. อายุ 55 ปี

5.7.1. ประสบอุบัติเหตุลื่นล้ม ไม่รุนแรง มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกายเล็กน้อย

5.7.2. หมดประจำเดือน

5.8. อายุ 60 ปี

5.8.1. ด้านบทบาทหน้าที่

5.8.1.1. เดิมทำงานเย็บผ้าที่ห้องเสื้อ เปลี่ยนมาทำตู้ซักผ้าหยอดเหรียญที่บ้านเพื่อเลี้ยงดูหลาน

5.8.2. ด้านร่างกาย

5.8.2.1. ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี

5.8.2.2. ใบหน้ามีริ้วรอย มีฝ้า กระ เพิ่มมากขึ้น ผิวหนังหย่อนคล้อย เส้นผมขาดและหลุดร่วงง่าย ผมหงอกมากขึ้น

5.8.2.3. ตาพร่ามัว แพทย์วินิจฉัยเป็นต้อลม

5.8.2.4. DM,DLP

5.9. อายุ 66 ปี

5.9.1. เข้าร่วมทำงานอสม ช่วยเหลือกิจกรรมในชุมชนสม่ำเสมอ

5.10. อายุ 68 ปี

5.10.1. มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด เข้ารับการรักษาที่รพ. แพทย์ทำการตรวจ ขูดมดลูก พบว่าเกิดจากฮอร์โมนในร่างกายที่ยังมีการเปลี่ยนแปลง

5.11. อายุ 69 ปี

5.11.1. สุขภาพแข็งแรงดี สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งหมด ความจำค่อนข้างดี

5.11.2. ด้านจิตใจ มีการยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆเห็นคุณค่าและมีความคาดหวังในการใช้ชีวิต ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพและการทำงานหาเลี้ยงชีพ