กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน by Mind Map: กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน

1. วัตถุประสงค์กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน

1.1. เป็นแนวทางในการพัฒนาและทบทวนมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

1.2. เป็นแนวทางในการปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินให้สอดคล้องกัน

1.3. เป็นแนวทางสำหรับผู้จัดทำงบการเงิน กรณีไม่มีมาตรฐานการรายงานทางการเงินรองรับ

1.4. เป็นแนวทางสำหรับผู้สอบบัญชีในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน

1.5. ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจความหมายของข้อมูลที่แสดงในงบการเงิน

1.6. ช่วยให้ผู้สนใจอื่น ๆ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการกำหนดมาตรฐานฯ

2. ลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงิน

2.1. ลักษณะที่ทำให้ข้อมูลมีประโยชน์สูงสุดในการตัดสินใจ

2.2. ประกอบด้วยลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลักษณะเชิงคุณภาพเสริม

3. ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน

3.1. เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)

3.1.1. ข้อมูลทำให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจแตกต่างไป

3.1.2. ประกอบด้วย มีคุณค่าทางการพยากรณ์ และมีคุณค่าทางการยืนยัน

3.1.3. ความมีสาระสำคัญ คือการแสดงหรือไม่แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงทำให้ผู้ใช้ตัดสินใจแตกต่างกัน

3.2. ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Faithful Representation)

3.2.1. แสดงเนื้อหาและความเป็นเชิงเศรษฐกิจแทนที่จะเป็นรูปแบบทางกฎหมาย (เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ)

3.2.1.1. ประกอบด้วย

3.2.1.1.1. ความครบถ้วน คือ นำเสนอ เปิดเผย ให้ความหมาย คำอธิบายครบถ้วน

3.2.1.1.2. ความเป็นกลาง คือ ปราศจากอคติหรือลำเอียงในการนำเสนอข้อมูล

3.2.1.1.3. การปราศจากข้อผิดพลาด คือ การไม่มีข้อผิดพลาดหรือการละเว้นการให้ข้อมูล (ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกลักษณะ)

4. องค์ประกอบของงบการเงิน

4.1. เกี่ยวข้องกับฐานะการเงิน

4.2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับผลการดำเนินงาน (งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) ประกอบด้วย Income & Expenses

5. การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน

5.1. ราคาทุนเดิม

5.2. ราคาทุนปัจจุบัน

5.3. มูลค่าที่จะได้รับ

5.4. มูลค่าปัจจุบัน

6. การจัดทำและนำเสนองบการเงิน

6.1. จุดมุ่งหมายและส่วนประกอบของงบการเงิน เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป

6.2. ต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย ผลกำไรขาดทุน เงินทุนที่ได้รับจากเจ้าของ การจัดสรรส่วนทุน งบกระแสเงินสด

6.3. ส่วนประกอบของงบการเงินที่สมบูรณ์

7. การรับรู้รายการขององค์ประกอบของงบการเงิน

7.1. ความหมายของการรับรู้รายการขององค์ประกอบของงบการเงิน

7.1.1. หมายถึงการรวมรายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน

7.2. เข้าเกณฑ์เงื่อนไขทั้ง 2 ข้อ คือ

7.2.1. มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่จะได้รับหรือสูญเสียประโยชน์

7.2.2. มีราคาทุนหรือมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ

7.3. เหตุการณ์ที่เข้าเงื่อนไขการรับรู้รายการต้องรับรู้ทันที

7.4. หากรายการนั้นเป็นไปตามคำนิยามขององค์ประกอบของงบการเงินแต่ไม่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ให้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

8. ลักษณะเชิงคุณภาพเสริม

8.1. ข้อมูลทางการเงินเพิ่มประโยชน์ยิ่งขึ้นด้วยลักษณะเชิงคุณภาพเสริม

8.1.1. ประกอบด้วย

8.1.1.1. ความสามารถเปรียบเทียบได้ (Comparability) เปรียบเทียบกับกิจการอื่นรอบเวลาเดียวกัน / เปรียบเทียบกับตัวเองรอบเวลาต่างกัน (ความสม่ำเสมอช่วยให้เกิดการเปรียบเทียบได้)

8.1.1.2. ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ (Verifiability) ผู้ใช้ที่มีความรอบรู้แตกต่างกันเป็นอิสระต่อกัน ได้ข้อสรุปตรงกัน (พิสูจน์ทางตรงคือการตรวจนับ พิสูจน์ทางอ้อมโดยใช้แบบจำลอง สูตร หรือ เทคนิคอื่น)

8.1.1.3. ความทันเวลา (Timeliness) ยังมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ

8.1.1.4. ความสามารถเข้าใจได้ (Understandability) ข้อมูลถูกจัดประเภท กำหนดลักษณะ และนำเสนออย่างชัดเจนและกระชับ ถึงแม้ว่าข้อมูลนั้นจะมีความซับซ้อนก็ต้องแสดง

9. วัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงิน

9.1. วัตถุประสงค์ทั่วไป(General Purpose)

9.1.1. ไม่ได้ให้ข้อมูลทางการเงินสำหรับผู้ใช้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ แต่มีผู้ใช้หลักคือ ผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม และเจ้าหนี้อื่น เพื่อ

9.1.2. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจและสิทธิเรียกร้องต่อกิจการ

9.1.3. ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรของฝ่ายบริหาร

9.1.4. พยากรณ์ผลตอบแประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรของฝ่ายบริหาร

9.1.5. ทนในอนาคตจากการใช้ทรัพยากรของกิจการ

9.1.6. ตัดสินใจให้ทรัพยากรแก่กิจการ (ให้เงินทุน ให้เงินกู้ หรือสินเชื่อ)

9.1.7. ใช้ประเมินสภาพคล่องจากงบกระแสเงินสด

10. นางสาวอัญธิกา มิ่งขวัญ รหัสนักศึกษา 61324410233