พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป by Mind Map: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป

1. พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองในทวีปยุโรป

1.1. สมัยโบราณ

1.1.1. กรีกและโรมัน

1.1.1.1. เป็นสังคมชนชั้น

1.1.1.2. มีการสร้างประมวลกฏหมายขึ้นมา

1.1.2. สิ้นสุดเมื่อปี ค.ศ. 476 โอโดเซอร์แม่ทัพชาวอนารยชนได้ปลดจักรพรรดิโรมิวลุส ออกัสตุส จักรพรรดิคนสุดท้ายของโรมันตะวันตกออกจากบัลลังค์

1.1.2.1. เมื่อดินแดนฝั่งตะวันตกล่มสลาย บริเวณฝั่ง ตะวันตกก็เกิดสภาวะถดถอย แตกแยกเป็น อาณาจักรมากมาย ประมวลกฏหมายถูกละทิ้ง

1.2. สมัยกลาง

1.2.1. เป็นสังคมแมนเนอร์

1.2.2. ระบบฟิวดัล

1.2.2.1. เกิดในช่วง ศ.9

1.2.2.2. เป็นระบบที่มีความสําคัญในยุคกลาง

1.2.2.3. ลักษณะของระบบฟิวดัล

1.2.2.3.1. ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายกับข้า กษัตริย์ได้มอบที่ดินให้แก่ขุนนาง พวกขุนนางมีสิทธิ์ หาผลประโยชน์จากที่ดิน และดูแลปกครอง ผู้คนที่อาศัยทํามาหากินบนพื้นที่ดินนั้น ตัดสินคดีพิพาทต่างๆ

1.2.2.4. ขุนนางมีอำนาจมากในช่วงนี้

1.2.2.5. เสิ่อมถอยลงในสมัยกลางตอนปลาย

1.2.2.5.1. กษัตริย์จึงกลับมามีอํานาจและเป็นผู้นําในการตั้งรัฐชาติต่อมา

1.2.3. ยุโรปเริ่มก่อตั้งรัฐชาติขึ้นมา

1.2.3.1. การปฏิวัติทางภูมิปัญญา

1.2.3.1.1. การปฏิวัติทางภูมิปัญญาเป็นผลสืบเนื่อง จากการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ซึ่งกระตุ้นให้ ชาวยุโรปสนใจศึกษาหาความรู้และค้นหา ความจริง

1.2.3.1.2. เกิดนักคิด นักปรัชญาขึ้นมากมาย

1.2.3.2. อังกฤษ

1.2.3.2.1. กฏบัตรแมกนา คาร์ตา

1.2.3.2.2. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

1.2.3.3. ฝรั่งเศษ

1.2.3.3.1. การปฏิวัติฝรั่งเศส

1.3. สมัยใหม่

1.3.1. ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 อิตาลีและเยอรมนีใช้ ระบบการปกครองแบบ เผด็จการฟาสซิสต์

1.3.2. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุคประชาธิปไตยในยุโรป

1.3.2.1. อังกฤษ ต้นแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา

1.3.2.2. ระบบกึ่งประธานาธิบดีในฝรั่งเศส

2. สภาพภูมิศาสตร์

2.1. ลักษณะภูมิประเทศ

2.1.1. ที่สูงชายฝั่งตะวันตก

2.1.2. หินฐานทวีปสแกนดิเนเวีย

2.1.3. ที่ราบ

2.1.4. ที่ราบสูงและหุบเขา

2.1.5. เทือกเขาและภูเขา

2.1.6. เกาะและหมู่เกาะ

2.2. มีคาบสมุทรจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งคาบสมุทรของคาบสมุทร

2.3. เป็นปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาตั้งหลักแหล่ง

3. พัฒนาการด้านเศรษฐกิจในทวีปยุโรป

3.1. สมัยกลาง กับระบบแมนเนอร้ในยุคที่การค้าชะลอตัวกว่า 500 ปี

3.2. ระบบเศรษฐกิจของยุโรปเริ่มฟื้นตัวอีกครั้งหลังสงครามครูเสด

3.2.1. โลกตะวันตกมีการติดต่อกับโลกตะวันออก การถ่ายเทความรู้ด้านต่าง ๆ

3.2.2. มีการพัฒนาระบบการค้า การเดินเรือ เพื่อ แข่งขันทางการค้า

3.2.3. สินค้าจากตะวันออกเริ่มแพร่หลายในโลก ตะวันตก

3.2.4. เกิดชนชั้นพ่อค้า ในทวีปยุโรป

3.2.5. เกิดเมืองท่าสําคัญและการเดินทางค้าขายทาง เรือ

3.3. ในปลายสมัยกลาง ชาวยุโรปได้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส่งผลต่อทั้งการเดินทางและการค้า

3.3.1. ชาวยุโรปเริ่มเดินทางออกค้นหาดินแดนต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ทางการค้า เรียกสมัยนี้อีกชื่อว่า สมัยแห่งการสํารวจและค้นพบ

3.3.2. คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส พบอเมริกา

3.4. สมัยกลาง

3.4.1. เศรษฐกิจพาณิชยนิยม

3.4.1.1. เน้นส่งออก กีดกันสินค้านำเข้า

3.4.2. เศรษฐกิจทุนนิยม

3.4.2.1. ระบบการค้าเสรี

3.4.3. เศรษฐกิจสังคมนิยม

3.4.3.1. ความเสมอภาค

4. พัฒนาการด้านสังคมและ ศิลปวัฒนธรรมในยุโรป

4.1. สมัยกลางตอนต้น สังคมตะวันตก ประกอบด้วย 3 ฐานันดร ตามลักษณะ ของระบบฟิวดัล

4.2. จนถึงช่วงปลายยุคกลาง เศรษฐกิจเมืองของยุโรปเริ่มขยายตัว เกิดชนชั้นที่สําคัญคือ ชนชั้นกลาง

4.3. คริสต์ศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมในยุโรป สัตปาปามีอํานาจในสังคม นักบวชจะได้รับสิทธิในการตีความคําสอนเท่านั้น

4.4. ศิลปะ

4.4.1. ศาสนาทำให้เกิดศิลปะขึ้นมากมาย

4.4.1.1. สถาปัตยกรรมโกธิค

4.4.2. ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่เกิดการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

4.4.3. ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เกิดรูปแบบศิลปะแบบบาโรก ซึ่งเน้นความหรูหรา ฟุ้งเฟ้อ

4.4.4. ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ศิลปะแบบ โรโกโก ได้รับ ความนิยมมีการให้อิสระ แก่จิตนาการ ใช้แสง เน้น ความสว่าง

5. เหตุการณ์สําคัญในพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของยุโรป

5.1. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์ศตวรรษที่ 17)

5.2. การปฏิวัติทางภูมิปัญญา ยุคแห่งเหตุผลและแนวคิด (กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18)

5.3. การปฏิวัติอุตสาหกรรมคริสต์ศตวรรษที่ 18