หลักสูตรแกนกลาง 2551

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักสูตรแกนกลาง 2551 by Mind Map: หลักสูตรแกนกลาง 2551

1. จุดหมาย

1.1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์

1.2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทค โนโลยี และมีทักษะชีวิต

1.3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ ดี

1.4. มีความรักชาติ

1.5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาไทย

2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

2.2. ซื่อสัตย์สุจริต

2.3. มีวินัย

2.4. ใฝ่เรียนรู้

2.5. อยู่อย่างพอเพียง

2.6. มุ่งมั่นในการทํางาน

2.7. รักความเป็นไทย

2.8. มีจิตสาธารณะ

3. ตัวชี้วัด

3.1. ตัวชี้วัดชั้นปี

3.1.1. เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการ ศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ ๑– มัธยมศึกษาปีที่ ๓)

3.2. ตัวชี้วัดช่วงชั้น

3.2.1. เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ ๔- ๖)

4. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

4.1. กิจกรรมแนะแนว

4.2. กิจกรรมนักเรียน

4.2.1. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบำเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร

4.2.2. กิจกรรมชุมนุม ชมรม

4.3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน

5. การวัดและประเมินผล

5.1. การประเมินระดับชั้นเรียน

5.2. การประเมินระดับสถานศึกษา

5.3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา

5.4. การประเมินระดับชาติ

6. ระดับการศึกษา

6.1. ระดับประถมศึกษา

6.2. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

6.3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

7. โครงสร้างรายวิชา

7.1. ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า ๑๐๐๐ ชั่วโมง/ปี

7.2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่า ๑๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

7.3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่น้อยกว่า ๓๖๐๐ ชั่วโมง/ปี

8. การจัดการเรียนรู้

8.1. หลักการจัดการเรียนรู

8.2. กระบวนการเรียนรู

8.3. การออกแบบการจัดการเรียนรู

8.4. บทบาทของผูสอนและผูเรียน

9. เกณฑ์การวัดและประเมินผล

9.1. การตัดสินใหระดับและรายงานผลการเรียน

9.1.1. การตัดสินผลการเรียน

9.1.2. การใหระดับผลการเรียน

9.1.3. การรายงานผลการเรียน

9.2. เกณฑการจบการศึกษา

9.2.1. เกณฑการจบระดับประถมศึกษา

9.2.2. เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน

9.2.3. กณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย

10. การเทียบโอนผลการเรียน

10.1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา

10.2. พิจารณาจากความรูความสามารถของผูเรียน

10.3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

11. การบริหารจัดการหลักสูตร

11.1. กำหนดเปาหมายคุณภาพผูเรียน

11.2. จัดสาระการเรียนรูทองถิ่น

11.3. กำหนดระบบการวัดและประเมินผล

11.4. เพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการ วิจัยและพัฒนา

11.5. สนับสนุน สงเสริม นิเทศติดตาม ประเมินผล วิเคราะหรายงานผลการใชหลักสูตร

11.5.1. จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา

11.5.2. วางแผนและดําเนินการใชหลักสูตร

11.5.3. เพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการ วิจัยและพัฒนา

11.5.4. ประเมินการใชหลักสูตร

11.5.5. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

12. วิสัยทัศ

12.1. มุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิต สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่น ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระ มหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อการ ประกอบ อาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียน เป็นสํำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ เรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

13. หลักการ

13.1. เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน

13.2. ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการ ศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ

13.3. สนองการกระจายอํา นาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น

13.4. มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัดการเรียนรู้

13.5. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

13.6. เป็นหลักสูตรการศึกษา สำหรับ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

14. สมรรถนะผู้เรียน

14.1. ความสามารถในการสื่อสาร

14.2. ความสามารถในการคิด

14.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

14.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

14.5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

15. มาตรฐานการเรียนรู้

15.1. ภาษาไทย

15.2. คณิตศาสตร์

15.3. วิทยาศาสตร์

15.4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

15.5. สุขศึกษาและพลศึกษา

15.6. ศิลปะ

15.7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี

15.8. ภาษาต่างประเทศ

16. สาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้

16.1. ภาษาไทย ๕ สาระ ๕ มาตรฐาน

16.2. คณิตศาสตร์ ๖ สาระ ๑๔ มาตรฐาน

16.3. วิทยาศาสตร์ ๘ สาระ ๑๓ มาตรฐาน

16.4. สังคม ศาสนา วัฒนธรรม ๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน

16.5. สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ สาระ ๖ มาตรฐาน

16.6. ศิลปะ ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน

16.7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ สาระ ๔ มาตรฐาน

16.8. ภาษาต่างประเทศ ๔ สาระ ๘ มาตรฐาน

17. การจัดเวลาเรียน

17.1. ระดับชั้นประถมศึกษา ใหจัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมีเวลาเรียนวันละ ไมเกิน ๕ ชม.

17.2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ใหจัดเวลาเรียนเปนรายภาค มี เวลาเรี ยนวันละไมเกิน ๖ ชม.

17.3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดเวลาเรียนเปนรายภาค มีเวลาเรียนวันละไมนอยกวา ๖ ชม.

18. การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

18.1. การศึกษาเฉพาะทาง

18.2. การศึกษาสำหรับ ผูมีความสามารถพิเศษ

18.3. การศึกษาทางเลือก

18.4. การศึกษาสำหรับผูดอยโอกาส

18.5. การศึกษาตามอัธยาศัย

19. สื่อการเรียนรู้

19.1. จัดใหมีแหลงการเรียนรู

19.2. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรูสำหรับการศึกษาคนควา

19.3. เลือกและใชสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ

19.4. ประเมินคุณภาพของสื่อ

19.5. ศึกษาคนควา วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อ

19.6. จัดใหมีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพ เกี่ยวกับสื่อ

20. เอกสารหลักฐานการศึกษา

20.1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด

20.1.1. ระเบียนแสดงผลการเรียน

20.1.2. ประกาศนียบัตร

20.1.3. แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา

20.2. อกสารหลักฐานการศึกษาที่ สถานศึกษากำหนด