ระบบอัจฉริยะเพื่อการดูแลการปลูกสมุนไพรในภาคเหนือ สำหรับอุตสาหกรรมความงาม
by Pex Porntip

1. กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการและปรับแต่ง(configure)ระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปลูก และทดลองปลูกพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพ จานวน 3 ชนิด และเปรียบเทียบผลผลิต (productivity) กับ การปลูกแบบทั่วไป
2. เครื่องสาอางธรรมชาติมูลค่าสูง(highvaluecosmetic)ที่เกิดจากการแปรรูปสมุนไพรที่มี ศักยภาพในพื้นที่ภาคเหนือ
3. ค่าตอบแทน 500,000
4. ที่มา
5. วัตถุประสงค์
5.1. 1) เพื่อวิจัยองค์ความรู้สาหรับพัฒนาระบบดูแลรักษาแปลง อัตโนมัติแม่นยาสูง และ ปัญญาประดิษฐ์ สาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกสมุนไพรไทย โดยเฉพาะกลุ่มสมุนไพรสาหรับเครื่องสาอาง ธรรมชาติมูลค่าสูง 2) พัฒนาต้นแบบเทคโนโลยีการเกษตรอัตโนมัติแบบแม่นยาสูงที่สนับสนุนการผลิตสมุนไพรแบบ ปราณีตที่สามารถเพิ่มคุณภาพในสมุนไพรสาหรับเครื่องสาอางธรรมชาติมูลค่าสูง
6. เป้าหมายโครงการ
6.1. การเพิ่มปริมาณผลผลิตสมุนไพร(productivity)และการเพิ่มประสิทธิภาพ(efficiency) ปริมาณของสารสกัดสมุนไพรต่อแปลง
6.2. ต้นแบบระบบดูแลรักษาแปลงสมุนไพรแบบอัตโนมัติแม่นยาสูง (Precision Automated Crop Maintenance System)
6.3. ปัญญาประดิษฐ์สาหรับการดูแลแปลงสมุนไพร(ArtificialintelligentSystemforThai Herb Crop Maintenance)
6.4. แอพพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนสาหรับการตรวจสอบและควบคุมแปลงสมุนไพร
7. ขอบเขตการดำเนินงาน
7.1. กิจกรรมที่1 ประชุมวางแผนงาน
7.2. กิจกรรมที่2 ออกแบบฐานข้อมูลและระบบ วิเคราะห์ข้อมูล สำรวจและเก็บข้อมูลพืชสมุนไพรล้านนา คัดเลือกพืชสมุนไพรล้านนาจำนวน ไม่น้อยกว่า 300ชนิด
7.3. กิจกรรมที่3 พัฒนาอุปกรณ์เซ็นเซอร์(sensor)และระบบควบคุม(control)อุปกรณ์ไฟฟ้าสาหรับระบบดูแล รักษาแปลง และพัฒนาแอพพลิเคชันบนสมาร์โฟน (mobile application) เพื่อแสดงผลการทางานและการควบคุม ระบบดูแลรักษาแปลงสมุนไพรและปัญญาประดษิฐ์
7.4. กิจกรรมที่5 วิเคราะห์และ ทาสมุนไพรที่ได้จากการปลูกด้วยระบบที่พัฒนาขึ้นไปสกัด(extract)เพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการปลูก
7.5. กิจกรรมที่6 ทดสอบระบบ
7.6. กิจกรรมที่ 7 ติดตามผล และสรุปผลการวิจัย พร้อม ข้อเสนอแนะ
8. งบประมาณ
8.1. 3,000,000บาท
8.1.1. ใช้สอย 2,000,000
8.1.2. วัสดุ 500,000