หน่วยทางภาษาj📌📌

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หน่วยทางภาษาj📌📌 by Mind Map: หน่วยทางภาษาj📌📌

1. พยางค์

1.1. ปิด

1.1.1. คำเป็น

1.1.1.1. นมยวง

1.1.1.1.1. ยา

1.1.1.1.2. ฝัน

1.1.1.1.3. กรรม

1.1.1.1.4. สิง

1.1.2. มีตัวสะกด

1.1.2.1. ถาม

1.1.2.2. ดึก

1.1.2.3. สงสัย

1.1.2.4. ภาคภูมิ

1.2. เปิด

1.2.1. ไม่มีตัวสะกด

1.2.1.1. ชู

1.2.1.2. คี่

1.2.1.3. เซ

1.3. คำตาย

1.3.1. กบด

1.3.1.1. กบ

1.3.1.2. สาป

1.3.1.3. กิเลส

2. ปรโยค

2.1. สามัญ

2.1.1. S+v

2.2. รวม

2.2.1. อันวยาเนกรรถประโยค

2.2.2. พยติเรกาเนกรรถประโยค

2.2.3. วิกัลปาเนกรรถประโยค

2.2.4. หดวาเนกรรถประโยค

2.3. ซ้อน

2.3.1. คุณานุประโยค

2.3.2. วิเศษณานุประโยค

2.3.3. นามานุประโยค

3. เสียง

3.1. พยัญชนะ

3.1.1. ต้น

3.1.1.1. เดี่ยว

3.1.1.1.1. พยางค์หรือคำที่มีพยัญชนะต้นเพียงตัวเดียว

3.1.1.2. ประสม

3.1.1.2.1. อักษรควบ

3.1.2. ท้าย

3.1.2.1. คำเป็น

3.1.2.1.1. แม่กน แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กง

3.1.2.2. คำตาย

3.1.2.2.1. แม่กก แม่กด แม่กบ

3.2. สระ

3.2.1. สั้น

3.2.1.1. อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ไอ ใอ เอา

3.2.2. ยาว

3.2.2.1. อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว ฤๅ ฦๅ

3.3. วรรณยุกต์

3.3.1. เสียง

3.3.1.1. สามัญ เอง โท ตรี จัตวา

3.3.2. รูป

3.3.2.1. ค่ะ ป่า หมู่ กล้อง ฯลฯ

3.3.2.2. ่ ้ ๊ ๋

3.3.3. มีรูป

3.3.4. ไม่มีรูป

3.3.4.1. เสียงสามัญ

3.3.4.1.1. คา

3.3.4.1.2. ตา

3.3.4.1.3. มา

3.3.4.2. เสียงเอก

3.3.4.2.1. ขะ

3.3.4.2.2. ฉก

3.3.4.2.3. หุบ

3.3.4.3. เสียงโท

3.3.4.3.1. คาบ

3.3.4.3.2. รีบ

3.3.4.3.3. วูบ

3.3.4.4. เสียงตรี

3.3.4.4.1. คะ

3.3.4.4.2. ลิด

3.3.4.4.3. ทุบ

3.3.4.5. เสียงจัตวา

3.3.4.5.1. ขา

3.3.4.5.2. หนี

3.3.4.5.3. ฝูง

4. คำ

4.1. ชนิด

4.1.1. นาม

4.1.1.1. สามานยนาม

4.1.1.1.1. ex. พ่อ แม่

4.1.1.2. วิสามานยนาม

4.1.1.2.1. ex. ชื่อคน สถานที่

4.1.1.3. ลักษณะนาม

4.1.1.3.1. ex. ด้าม แผ่น

4.1.1.4. สมุหนาม

4.1.1.4.1. ex. โขลง ฝูง

4.1.1.5. อาการนาม

4.1.1.5.1. ex. การเรียน ความรู้

4.1.2. กริยา

4.1.2.1. อกรรมกริยา

4.1.2.1.1. กริยาไม่มีกรรม

4.1.2.2. สกรรมกริยา

4.1.2.2.1. กริยามีกรรม

4.1.2.3. วิกตรรถกริยา

4.1.2.3.1. กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม

4.1.2.4. กริยานุเคราะห์

4.1.2.4.1. คําช่วยกริยา

4.1.2.5. กริยาสภวมาลา

4.1.2.5.1. กริยาทำหน้าที่คล้ายนาม

4.1.3. บุพบท

4.1.3.1. สถานที่

4.1.3.1.1. ex. ใน , นอก : คนในเมือง

4.1.3.2. เวลา

4.1.3.2.1. ex. จน : เขาทำงานที่ครูสั่งจนเช้า

4.1.3.3. เป็นเจ้าของ

4.1.3.3.1. ex. ของ : พัดลมของฉัน

4.1.3.4. ความเจตนา

4.1.3.4.1. ex. พ่อ : พ่อทำเพื่อลูก

4.1.3.5. บอกอาการ

4.1.3.5.1. ex.ตาม : ฉันเดินตามพ่อ

4.1.4. สันธาน

4.1.4.1. คล้อยตามกัน

4.1.4.1.1. กับ ทั้ง และ ทั้ง...กับ

4.1.4.2. ขัดแย้งกัน

4.1.4.2.1. แต่ เเต่ว่า กว่า...ก็

4.1.4.3. เป็นเหตุเป็นผลกัน

4.1.4.3.1. จึง เพราะ..จึง เพราะ

4.1.4.4. เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

4.1.4.4.1. หรือ ไม่...ก็

4.1.5. วิเศษณ์

4.1.5.1. บอกลักษณะ

4.1.5.1.1. ex. สี กลิ่น รูปร่าง รส อาการ เสียง

4.1.5.2. บอกเวลา

4.1.5.2.1. ex.เที่ยง เช้า สาย บ่าย เย็น

4.1.5.3. ระยะทาง

4.1.5.3.1. ex. ใกล้ ไกล ชิด

4.1.5.4. บอกจำนวนหรือปริมาณ

4.1.5.4.1. ex. ทั้งหมด มาก จุ เยอะ น้อย

4.1.5.5. ชี้เฉพาะ

4.1.5.5.1. ex. นี่ นั่น โน่น นู่น

4.1.5.6. ไม่ชี้เฉพาะ

4.1.5.6.1. ex. ไหน ใคร ใด อะไร

4.1.5.7. คำถาม

4.1.5.7.1. ex. ไหน เท่าไหร่ หรือไม่ กี่บาท

4.1.5.8. ขานรับ

4.1.5.8.1. ex. เพคะ ครับ ค่ะ คะ

4.1.6. อุทาน

4.1.6.1. บอกอาการ

4.1.6.1.1. ex. ไชโย! ชิ! อนิจจัง! เอ๋! อ๋อ! โอย!

4.1.6.2. เสริมบท

4.1.6.2.1. ex.วัดวาอาราม หนังสือหนังหา

4.1.7. สรรพนาม

4.1.7.1. บุรุษสรรพนาม

4.1.7.1.1. แทนผู้พูด , แทนผู้ฟัง , แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง

4.1.7.2. สรรพนามเชื่อมประโยค

4.1.7.2.1. ที่ ซึ่ง อัน

4.1.7.3. สรรพนามคำถาม

4.1.7.3.1. อะไรเอ่ย , ใครเป็นคนพูด

4.1.7.4. สรรพนามเเสดงความรู้สึก

4.1.7.4.1. ex. แม่อารมณ์ดี

4.1.7.5. สรรพนามชี้เฉพาะ

4.1.7.5.1. นี่คือ... , นั่นคือ... , โน่นคือ...

4.2. การสร้าง

4.2.1. มูล

4.2.1.1. พยางค์เดียว

4.2.1.1.1. ex. นก , หมู , ไก่ , หัตถ์

4.2.1.2. หลายพยางค์

4.2.1.2.1. ex. มะละกอ , บาดทะยัก

4.2.2. ประสม

4.2.2.1. คำมูล 2 คำขึ้นไป ➡️ คำใหม่

4.2.2.1.1. นาม

4.2.2.1.2. สรรพนาม

4.2.2.1.3. กริยา

4.2.2.1.4. วิเศษณ์

4.2.2.1.5. สันธาน

4.2.2.1.6. บุพบท

4.2.3. ซ้อน

4.2.3.1. ซ้อนเพื่อความหมาย

4.2.3.1.1. เหมือนกัน

4.2.3.1.2. คล้ายกัน

4.2.3.1.3. ตรงกัน

4.2.3.2. ซ้อนเพื่อเสียง

4.2.3.2.1. ex. งี่เง่า , จู้จี้ , มูมมาม , งุ่นง่าน

4.2.4. คำซ้ำ

4.2.4.1. พหูพจน์

4.2.4.1.1. ex. เพื่อนๆ , เด็กๆ

4.2.4.2. หนักขึ้น

4.2.4.2.1. ex. แด็งเเดง

4.2.4.3. เบาลง

4.2.4.4. คำสั่ง

4.2.4.4.1. ex. เบาๆ , เงียบๆ , ดังๆ

4.2.4.5. สำนวน

4.2.4.5.1. ex. งูๆปลาๆ

4.2.4.6. ชี้เฉพาะ

4.2.4.6.1. ex. ใช้ปากกาเป็นด้ามๆไป

4.2.4.7. ไม่ชี้เฉพาะ

4.2.4.7.1. ex. หนูนั่งรถคันท้ายๆ

4.2.4.8. กริยา

4.2.4.8.1. ex. ปริบๆ , ลุกๆ , นั่งๆ

4.2.5. สมาส

4.2.5.1. เป็นคำ ( ปส + ปส )

4.2.5.1.1. ex. สารคดี ธนบัตร

4.2.5.2. แปลจากหลังมาหน้า

4.2.5.2.1. ex. อัคคีภัย = ภัยที่เกิดจากไฟ

4.2.5.3. ไม่ปรากฏรูปสระเเละการันต์

4.2.5.3.1. ex. พลศึกษา = พละ + ศึกษา

4.2.6. สนธิ

4.2.6.1. สระสนธิ

4.2.6.1.1. ตัดสระคำหน้าใช้สระคำหลัง

4.2.6.1.2. ตัดสระคำท้าย หน้าใช้สระหน้าคำหลัง

4.2.6.1.3. เปลี่ยนสระที่ท้ายคำหน้า

4.2.6.2. พยัญชนะสนธิ

4.2.6.2.1. คำที่ลงท้าย ส ➡️ โ-

4.2.6.2.2. มูส + นิส เปลี่ยน ส ➡️ ร

4.2.6.3. นฤคนิตสนธิ

4.2.6.3.1. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ม

4.2.6.3.2. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ง (วรรค กะ)

4.2.6.3.3. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ญ (วรรค จะ)

4.2.6.3.4. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ณ (วรรค ฏะ)

4.2.6.3.5. เปลี่ยน " ํ " ➡️ น (วรรค ตะ)

4.2.6.3.6. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ม (วรรค ปะ)

4.2.6.3.7. เปลี่ยน " ํ " ➡️ ง (วรรคเศษ)

5. สมาชิก

5.1. สโรชา กล้าขยัน เลขที่25 ม.6/3

5.2. วีรดา ผลมาตย์ เลขที่23 ม.6/3

5.3. ยุภาภรณ์ เขียวนัอย เลขที่27 ม.6/3

5.4. เฟื่องฟ้า สีการ เลขที่33 ม.6/3