การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม by Mind Map: การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม

1. แนวคิดในการจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน

1.1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาต

1.2. การวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม

1.3. โครงการพัฒนาทุกโครงการ

1.4. คนเราต้องไม่ลืมว่าการอนุรักษ์นั้นเป็นหนทางแห่งการดำเนินชีวิตของมนุษย์

1.5. ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้องในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม

1.6. ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งสำคัญในด้านการแสดงออกซึ่งความเจริญทางวัฒนธรรม

1.7. มนุษย์ไม่สามารถสร้างทรัพยากร

1.8. การจัดการและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาต

2. แนวทางการฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติต่อมลพิษทางดิน

2.1. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่โดยวิธีทางชีวภาพ

2.1.1. การย่อยสลายทางชีวภาพ (bioventing)

2.1.2. การส่งเสริมการฟื้นฟูทางชีวภาพ (enhanced bioremediation)

2.1.3. การใช้พืชฟื้นฟู (phytoremediation)

2.2. การแยกด้วยไฟฟ้า (Electrokinetic Separation--ES)

2.2.1. การล้างดิน (soil flushing/soil washing)

2.3. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่ โดยวิธีทางกายภาพ/เคมี

2.3.1. การออกซิไดซ์ด้วยสารเคมี (chemical oxidation)

2.3.2. การปรับเสถียรและการทำก้อนแข็ง (Solidification/Stabilization--S/S)

2.3.3. การดูดซับ (adsorption)

2.3.4. การตกผลึก (precipitation)

2.3.5. การกรองด้วยเยื่อเมมเบรน (membrane filtration)

2.4. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่ โดยวิธีใช้ความร้อน

2.4.1. 1 การใช้ความร้อนบำบัด (thermal treatment)

2.4.2. การเผา (verification)

2.5. การสกัดสารระเหยง่ายออกจากดิน (Soil Vapor Extraction--SVE)

2.6. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นท

2.6.1. การทำร่องชีวภาพ (biopiles)

2.6.2. การหมักทำปุ๋ย (composting)

2.6.3. การทำฟาร์มดิน (land farming)

2.6.4. การบำบัดของเหลวข้นทางชีวภาพ (slurry phase biological treatment)

2.6.5. การสกัดทางเคมี (chemical extraction)

2.6.6. การออกซิไดซ์/รีดิวซ์ทางเคมี (chemical reduction/oxidation)

2.6.7. การกำจัดฮาโลเจน (dehalogenation)

2.6.8. การแยกออก (separation)

2.6.9. การล้างดิน (soil washing)

2.7. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นที่ โดยวิธีทาความร้อน

2.7.1. การกำจัดสารปนเปื้อนด้วยก๊าซร้อน (hot gas decontamination)

2.7.2. การเผา (incineration)

2.7.3. การเผาแบบไร้อากาศ (pyrolysis)

2.7.4. การสกัดด้วยความร้อน (thermal desorption)

2.8. เทคโนโลยีการสกัดการเคลื่อนท

2.8.1. การปิดด้วยดิน (landfill cap)

2.8.2. การสร้างกำแพงกายภาพ (physical barriers)

2.8.3. การอัดลงบ่อลึก (deep well injection)

3. ปัญหามลพิษทางดินจากภาคอุตสาหกรรม

3.1. ดมลพิษทางดิน

3.2. มลพิษทางดินจากกากของเสียและสิ่งปฏิกูล

3.3. มลพิษทางดินจากน้ำทิ้งอุตสาหกรรม

3.4. มลพิษทางดินจากสารเคมีอุตสาหกรรม

3.5. มลพิษทางดินจากอากาศเสีย

4. ผลกระทบของปัญหามลพิษจากภาคอุตสาหกรรม

4.1. ผลกระทบของสารพิษในห่วงโซ่อาหาร

4.1.1. การดำรงชีวิตของเชื้อโรค L. monocytogenes ในดิน

4.1.1.1. การชลประทานจากแหล่งที่ปนเปื้อน

4.1.1.2. งการปนเปื้อน ในอุจจาระของมนุษย์และสัตว

4.1.1.3. ส่งผลเสียต่อผลผลิต ทางการเกษตร