การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตราย (The Renewal of soil Contaminated Industrial Haz...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตราย (The Renewal of soil Contaminated Industrial Hazard Wastes) by Mind Map: การฟื้นฟูมลพิษทางดินที่ปนเปื้อนกากของเสียอันตราย (The Renewal of soil Contaminated Industrial Hazard Wastes)

1. คำสำคัญ (Keyword)

1.1. การฟื้นฟู

1.2. มลพิษทางดิน

1.3. กากของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม

2. ความหมายของมลพิษทางดิน

2.1. มลพิษทางดิน (Soil Pollution) หมายถึง ดินที่เสื่อมค่าไปจากเดิมหรือมีสารเคมีมลพิษมากเกินขีดจำกัดจนเป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของพืช

3. สาเหตุในการเกิดมลพิษทางดิน

3.1. ดินเสียโดยธรรมชาติ เช่น ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินพรุ

3.2. ดินเสียเพราะการกระทำมนุษย์ เช่น การใช้ปุ๋ยเคมีทางวิทยาศาสตร์

4. มลพิษทางดินจากกากของเสียและปฎิกูล

4.1. กากอุตสาหกรรมไม่อันตราย

4.2. กากอุตสาหกรรมอันตราย

5. มลพิษทางดินจากอุตสาหกรรมเคมี

5.1. ปุ๋ยเคมีที่มีธาตหลักสำคัญของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)

5.2. การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Pesticides) โดยทำให้ดินเป็นแหล่งสะสมสารเคมีที่มีลตกค้างนาน เช่น สารประกอบคลอรีนอินทรีย์ (Organochlorine) เป็นต้น

5.3. ผลกระทบของปัญหามลพิษจากอุตสาหกรรม

5.3.1. "ผลกระทบของสารพิษในห่วงโซ่อาหาร"

6. มลพิษทางดินจากน้ำทิ้งอุตสาหกรรม

6.1. อุตสาหกรรมอาหาร

6.2. อุตสาหกรรมเส้นใย

6.3. อุตสาหกรรมกระดาษ

6.4. อุตสาหกรรมปิโตเลียม

6.5. อุตสาหกรรมเคมี

6.6. อุตสาหกรรมยางและพลาสติก

6.7. อุสาหกรรมอื่นๆ

6.8. การคมนาคมทางน้ำ

7. มลพิษทางดินจากอากาศเสีย

7.1. ก็คือจะมีการเคลื่อนย้ายสารพิษของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ไม่มีการจัดการอย่างถูกต้องปล่อยสารกัมมังตภาพรังสีสร้างขึ้น ออกสู๋ชั้นบรรยากาศ

8. แนวคิดทางการฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติต่อมลพิษทางดิน

8.1. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่โดยวิธีทางชีวภาค

8.2. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่โดยวิธีทางกายภาพ

8.3. เทคโนโลยีการฟื้นฟูในพื้นที่โดยวิธีใช้ความร้อน

8.4. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นที่โดยวิธีชีวเคมี

8.5. เทคโนโลยีการฟื้นฟูนอกพื้นที่โดยวิธีทางความร้อน

8.6. เทคโนโลยีการสกัดการเคลื่อนที่

9. แนวคิดในการจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรดิน

9.1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาตื

9.2. การวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม

9.3. โครงการพัฒนาทุกโครงการ

9.4. คนเราต้องไม่ลืมว่าการอนุรักษ์

9.5. ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์

9.6. ความอุดาสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ

9.7. การทำลายทรัพยากรธรรมชาตื

9.8. มนุษย์ไม่สามารถสร้างทรัพยากร

9.9. การจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

9.10. เมื่อค้นพบว่ามีการหาทรัพยากรเกิดขึ่นได้โดยย่อมมีการทำลาย