การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค by Mind Map: การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค

1. สตราโทสเฟียร์ (Stratosphere)

1.1. เป็นชั้นถัดจากโทรโพสเฟียร์ มีความสูงประมาณ 50 กิโลเมตร

1.2. มีอากาศเบาบาง ไม่มีเมฆและพายุ

2. ความกดอากาศของโลก

2.1. บริเวณขั้วโลกจะมีความกดอากาศสูงถาวรทำให้มีอากาศหนาวจัดตลอดปี

2.2. บริเวณเส้นศูนย์สูตรความกดอากาศจะต่ำ ทำให้อากาศร้อนและได้รับแสงอาทิตย์ตลอดปี

2.3. บริเวณใกล้กับเส้นศูนย์สูตร จะมีความกดอากาศสูง กึ่งเขตร้อนมักมีทะเลทราย

2.4. บริเวณใกล้ขั้วโลกทั้งสองจะมีความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลก

3. ลม

3.1. ลมค้าพัดจากละติจูดที่ 30 - 35 องศาเหนือใต้ เข้าหาเส้นศูนย์สูตร

3.2. ลมตะวันออกพัดจากความกดอากาศสูงที่ขั้วโลก ทั้งสองไปสู่แนวความกดอากาศต่ำ กึ่งขั้วโลกเป็นลมหนาว

3.3. ลมตะวันตกพัดอยู่ระหว่าง ละติจูดที่ 30 ถึง 60 องศาใต้ คนยุโรปมัก นำมาใช้ประโยชน์ในการเดินเรือ

4. ผลจากดวงอาทิตย์

4.1. ทำให้เกิดหยาดน้ำฟ้า

4.1.1. ฝน

4.1.2. ฝนน้ำแข็ง

4.1.3. ลูกเห็บ

4.1.4. หิมะ

4.2. ส่งผลให้อุณหภูมิโลกเปลี่ยนแปลง

4.2.1. ตามละติจูด

4.2.1.1. พื้นที่ตรงโซนกลางโลกจะได้รับความร้อนมาก ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้จะมีอากาศหนาวจัด

4.2.2. ฤดู

4.2.2.1. ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้จะได้รับความร้อนต่างกันไปตามฤดู

4.2.3. การผันแปรอุณหภูมิประจำวัน

4.2.3.1. กลางวันกลางคืนแต่ละพื้นที่อุณหภูมิจะไม่เท่ากัน

4.2.4. ตามชนิดพื้นโลก

4.2.4.1. กลางวันพื้นดินจะร้อนกว่าพื้นน้ำกลางคืนพื้นน้ำจะร้อนกว่าพื้นดิน

4.2.5. ตามความสูงต่ำของโลก

4.2.5.1. เมื่อความสูงมากจะเย็นขึ้น

4.3. มีมวลอากาศ

4.3.1. แนวปะทะอากาศเย็นคือมวลอากาศเย็นความหนาแน่นสูง เคลื่อนหามวลอากาศร้อนจึงทำให้เกิดฝนตกหนักเป็นแห่งๆ

4.3.2. แนวปะทะอากาศร้อนคือมวลอากาศร้อนเข้าหาอากาศเย็น และทำให้เกิดฝนกระจายเป็นบริเวณกว้าง

4.4. ความชื้นในบรรยากาศและเมฆ

4.4.1. เมฆชั้นสูงมักเป็นเส้นสาย

4.4.2. เมฆชั้นกลางมักเป็นแผ่นต่อเนื่องกัน

4.4.3. เมฆชั้นต่ำลอยไม่สูงนักเป็นก้อนๆ

5. พลังงานจากดวงอาทิตย์

5.1. ปริมาณรังสี

5.1.1. ถูกสะท้อนกลับโดยชั้นบรรยากาศโลก 31%

5.1.2. ถูกดูดซับโดยชั้นบรรยากาศโลก69%

5.2. คลื่นรังสีที่ส่งมายังโลก

5.2.1. X-ray

5.2.2. Gamma ray

5.2.3. Ultraviolet

5.2.4. รังสีความร้อนและอื่นๆ

6. ชั้นบรรยากาศ

6.1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)

6.1.1. เป็นชั้นบรรยากาศชั้นล่างสุด ห่างจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 10 กิโลเมตร หรือ 33,000 ฟุต

6.1.2. เป็นชั้นที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

6.2. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)

6.2.1. อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 85 กิโลเมตร

6.2.2. อุกกาบาตที่พุ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลกส่วนใหญ่จะถูกเผาไหม้ในชั้นนี้

6.3. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)

6.3.1. อยู่ถัดจากชั้นมีโซสเฟียร์ขึ้นไป มีความสูงจากพื้นดินประมาณ 85-500 กิโลเมตร

6.3.2. (Upper Thermosphere) จะอยู่ที่ 500-2,000 องศาอากาศในชั้นนี้มีแก๊สชนิดต่าง ๆ ที่เป็นประจุไฟฟ้า เรียกว่า ไอออน

6.4. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere)

6.4.1. เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่สูงจากผิวโลกตั้งแต่ 500 กิโลเมตรขึ้นไป

7. ส่วนประกอบของชั้นบรรยากาศ

7.1. ไนโตรเจน78.084%

7.2. ออกซิเจน20.946

7.3. อาร์กอน0.934%

7.4. คาร์บอนไดออกไซด์0.033%

7.5. อื่นๆ0.003%