1. ระบบประกอบการค้าเสรี(4)
1.1. บุคคลมีสิทธิ์เป็นเข้าของทรัพย์สิน
1.2. สามารถสร้างกำไร และใช้จ่ายกำไรตามต้องการ
1.3. เลือกแนวทางการดำเนินธุรกิจได้
1.4. เลือกอาชีพ ที่อยู่ สินค้า บริการ
2. ความรู้พื้นฐาน
2.1. ธุรกิจ
2.1.1. บุคคลหรือองค์กร แสวงหากำไร
2.2. ผลิตภัณฑ์
2.2.1. สินค้า บริการ ความคิด ตอบสนองลูกค้า
3. ความรู้เบื้องต้นเศรษฐกิจ
3.1. เศรษฐศาสตร์
3.1.1. เป็นการศึกษาวิธีการ จัดสรรทรัพยากร
3.1.2. ทรัพยากร
3.1.2.1. ธรรมชาติ
3.1.2.2. เงิน
3.1.2.3. มนุษย์
3.2. ระบบเศรฐกิจ(4)
3.2.1. การจัดสรรทรัพยากร และ โอกาส เพื่อผลิตสินค้า
3.2.2. คอมมิวนิสต์
3.2.2.1. ทุกคนเท่าเทียม
3.2.2.2. เป็นเจ้าของทรัพยากรร่วมกัน
3.2.2.3. กำหนดโดยรัฐบาล
3.2.2.4. จีน เกาหลีเหนือ คิวบา
3.2.3. สังคมนิยม
3.2.3.1. คล้ายคอมมิวนิส
3.2.3.2. รัฐบาลเป็นเจ้าของอุตสาหกรรมหลัก
3.2.3.3. สวีเดน อินเดีย ฝรั่งเศษ อิสราเอล
3.2.4. ทุนนิยม
3.2.4.1. เอกชนเป็นเจ้าของ
3.2.4.2. อุปสงค์ อุปทาน
3.2.4.3. อเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
3.2.4.4. ทุนนิยมสมบูรณ์ (ตลาดเสรี)
3.2.4.4.1. ปราศจากการแทรกแซง
3.2.4.5. ระบบทุนนิยมประยุกต์
3.2.4.5.1. รัฐบาลจะเข้ามากำหนดกฎเกณฑ์
3.2.4.5.2. ใช้กฎหมายเป็นตัวควบคุม
3.2.5. ผสม
3.2.5.1. มีระบบเศรษฐกิจมากกว่า 1 ระบบ
3.2.5.2. ประเทศไทย
3.2.5.2.1. ใช้ทั้งทนนิยม และสังคมนิยม
3.2.5.2.2. รัฐบาลเป็นเจ้าของบางธุรกิจ และสถาบันการเงิน
4. บุคคลและกิจกรรม
5. เป้าหมาย
5.1. กำไร
5.1.1. ใช้ทักษะ และทรัพยากร
5.1.2. ต้องมีจริยธรรม และรับผิดชอบต่อสังคม
6. แรงผลักดัน อุปสงค์อุปทาน
6.1. อุปสงค์ อุปทาน => ราคาดุลยภาพ
6.2. ลักษณะของการแข่งขัน (4)
6.2.1. แข่งขันแบบสมบูรณ์ (pure)
6.2.1.1. คู่แข่งมาก
6.2.1.2. ไม่มีเจ้าตลาด
6.2.1.3. ข้าว ข้าวโพด
6.2.2. กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (monopolistic)
6.2.2.1. จำนวนผู้แข่งขันน้อยกว่าแบสมบูรณ์
6.2.2.2. ผลิตภํณฑ์แตกต่างกันนิดหน่อย
6.2.2.3. ธุรกิจมีอิทธิพลต่อราคาส่วนหนึ่ง
6.2.2.4. ยาแอสไพริน เครื่องดื่ม เครื่องดูดฝุ่น
6.2.3. ผู้ขายน้อยราย (oligopoly)
6.2.3.1. ธุรกิจไม่เกิน 10 ราย
6.2.3.2. ธุรกิจมีอำนาจกำหนดราคา
6.2.3.3. ราคาเป็นไปตามคู่แข่ง
6.2.4. ผูกขาด (monopoly)
6.2.4.1. มีผู้ผลิตรายเดียว
6.2.4.2. รัฐบาล
6.2.4.2.1. ไฟฟ้า น้ำประปา
6.2.4.3. เทคโนโลยี คุ้มครองโดยสิทธิบัตร
7. วัฏจักรเศรษฐกิจ และการวัดสภาพเศรฐกิจ
7.1. เศรฐกิจขยายตัว (economic expansion)
7.1.1. การใช้จ่ายสูง
7.1.2. เกิดภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)
7.2. เศรษฐกิจหดตัว (economic contraction)
7.2.1. การใช้จ่ายลดลง
7.2.2. การจ้างงานน้อยลง
7.2.3. เกิดเศรษฐกิจถดถอย (economic contraction)
7.2.3.1. การผลิต จ้างงาน รายได้ ลดลง
7.2.3.2. บอกได้ด้วยอัตราการว่างงาน
7.2.4. อาจเกิดภาวะเศรษกิจตกต่ำ (Depression)
7.3. การวัดสภาพเศรษฐกิจ
7.3.1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศ (GDP Gross domestic Product)
7.3.1.1. มูลค่าสินค้าและบริการ ที่เกิดขึ้นในประเทศ
7.3.2. งบมาณขาดดุล (budget deficit)