Cerebral Aneurysms

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Cerebral Aneurysms by Mind Map: Cerebral Aneurysms

1. ระวังเกิด complication ในคนสูงอายุ เช่น Volume overload ทำให้เกิด Congestive Heart Failure

2. Head CT grading scales for subarachnoid hemorrhage

2.1. Fisher

2.2. Modified Fisher grading scale

3. M/C คือ Hyponatremia ทำให้ผู้ป่วยซึมหรือชักได้ ต้องแยกระหว่าง SIADH หรือ Cerebral salt wasting

4. ข้อเสีย : ใช้เวลาในการ Thrombosis นานกว่าการผ่าตัดโดยตรง และอาจ secure aneurysm ไม่ทัน

4.1. เกิดขึ้นจาก กลไกทางเคมีจากเลือดที่กระจายไปสมองแล้วกระตุ้น Inflammatory process = Vasospasm ของ vessel ส่วนปลาย

5. ในผู้ที่มี DCI ที่เกิดจาก Cerebral vasospasm อาจทำให้สมองขาดเลือดเป็น large area อาจมี mass effect ต่อสมองส่วนที่สำคัญ

6. Hunt and Hess grading

7. Retinal hemorrhage

8. อาจมีอาการปวดศีรษะแบบเป็นๆหายๆในระดับที่รุนแรงมาก แต่ต่อมาอาการดีขึ้น เนื่องจากเลือดไม่เยอะ สุดท้ายทนปวดไม่ไหวต้องมาโรงพยาบาล : Warning/Sentinel headache

9. มีอาการปวดศีรษะทันทีแบบรุนแรงมากที่สุดในชีวิต

10. มีการประเมินระดับความรุนแรงของโรค

10.1. Clinical grading

10.1.1. World Federation of Neurological Surgeons Scale (WFNS)

10.1.2. สงสัย SAH แต่ CT brain negative

11. Imaging

11.1. Non-contrast enhanced head CT scan

11.1.1. Sensitive ในการ Dx = 98-100% ใน 12 ชั่วโมง

11.1.2. Sensitivity ลดเหลือ 50% หลัง 7 วัน

11.1.3. ประเมินความเสี่ยง Delayed cerebral ischemia ได้โดยพิจารณาการกระจายของ subarachnoid blood ตามเกณฑ์ของ Fisher

11.1.4. False -ve ได้ เช่น Sentinel bleeding หริมาณเลือดน้อย or ผู้ป่วยเป็น severe anemia

11.2. Cerebral angiography

11.2.1. เป็น Gold standard แต่ Invasive

11.2.1.1. สวน catheter ทาง artery ไปจนถึง internal carotid arteries และ vertebral arteries ทั้งสองข้าง แล้วฉีดสารทึบรังสีเข้าไป

11.2.2. เห็น Hemodynamic flow

11.2.2.1. Arterial, Capillary and Venous phase

11.2.3. บอกตำแหน่งที่ Aneurysm rupture ได้

11.2.4. ทำวิธีอื่นได้อีก เช่น CT angiography และ MRI angiography

12. ทำในผู้ป่วยอายุมาก มีความเสี่ยงสูงในการผ่าตัด ตำแหน่งหลอดเลือดเข้าถึงยาก

13. ทำในผู้ป่วยที่อายุน้อย ร่างกายแข็งแรง รับการผ่าตัดได้ ตำแหน่งหลอดเลือดเข้าถึงง่าย

14. เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้มากขึ้น หาก BP สูงเกินไปอาจเกิด Hypertensive ICH

15. แต่ Most common cause ของ Subarachnoid hemorrhage คือ Trauma มัก locate อยู่ที่ cortical lobe

15.1. eg. Hemiparesis/Hemiplegia --> MCA

16. EKG

16.1. แยกได้ยากกับ Acute MI

17. ได้ทั้ง obstructive และ communication เกิดจาก blood clot ไปอุดตัน CSF pathway หรือมี inflammatory process เกิด fibrous adhesion

18. Re-bleeding

19. หลังจากนั้นจึงจะสามารถ treat vasospasm : Triple H therapy

19.1. Hypertension (สำคัญที่สุด)

19.1.1. คอยช่วยเสริมด้วยวิธีอื่น : ใช้ Intervention ใส่ balloon ไปขยายหลอดเลือด

19.2. Hypervolemia

19.2.1. replace volume > 3,000 ml/day ทำให้เกิด Euvolemia

19.2.2. ควรใส่ Central venous pressure เพื่อ monitor ดู Intravascular volume

19.3. พบ CSF สี Xanthochromia (สีเหลืองคล้ายฟางข้าว) จากการสลายของ RBC

19.4. Hemodilution

19.4.1. keep Hct = 30%

20. keep SBP = 140-160 mmHg

21. พบลักษณะความผิดปกติได้ เกิดจาก Catecholamine release จาก Ischemic damage ต่อ Hypothalamus

22. Diffused subarachnoid hemorrhage บริเวณ Basal cistern

23. Investigation

23.1. Lumbar puncture

23.1.1. ต้องระวังการเกิด Traumatic tap

24. Treatments

24.1. ไม่ว่าจะเลือดออกมาก/น้อย : ต้อง Treat ทันที ป้องกันการแตกซ้ำ

24.2. Surgery

24.2.1. Clip vessel directly แล้ว secure aneurysm ทันที

24.2.2. ข้อเสีย : Invasive (ผู้ป่วยบางคนทำการผ่าตัดไม่ได้)

24.3. Intervention : Embolization

24.3.1. ใส่ coil เพื่อไปกระตุ้น thrombosis ที่ aneurysm

25. Clinical Presentation

25.1. 50% ของผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดีและให้ประวัติได้

25.2. Present illness

25.2.1. อาจมีภาวะชักร่วมด้วย

25.3. Physical examination

25.4. Meningeal irritation sign

26. Complications

26.1. Hydrocephalus

26.1.1. Cerebral infarction with brain edema

26.2. Seizure

26.3. Electrolyte imbalance

26.4. Cardiac and Pulmonary complication

26.4.1. 20% ของผู้ป่วย aSAH หากผู้ป่วยมาแต่แรก มี Prognosis ไม่ดี

26.4.1.1. อาจพบ Hypoglycemia และ Hyperglycemia ได้

26.4.2. พบได้ตั้งแต abnormal EKG, cardiac arrhythmias, Ventricular dysfunction, acute MI จากการหลั่ง catecholamine มากเกินไปจากการขาดเลือดไปเลี้ยง hypothalamus

26.5. หลังผ่าตัดหรือ coil embolization แล้วผู้ป่วยซึมลง ต้องทำ CT scan / Vascular imaging ในการผ่าตัดบางมุมกล้องอาจมองไม่เห็น

27. มักเป็นสาเหตุของการเกิด Spontaneous subarachnoid hemorrhage

28. Focal neurological sign ตามตำแหน่งพยาธิสภาพ

29. Mortality หลัง re-bleeding 80% ใน 24 ชั่วโมงแรก

30. ป้องกัน hemo-concentration ที่มากเกินไป แต่ก็อย่าจางเกิน อาจจะขาดเลือดได้

31. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ Prognosis

31.1. ปริมาณและลักษณะการกระจายของ Subarachnoid blood

31.2. อายุผู้ป่วย > 60 ปี

31.3. Consciousness ของผู้ป่วยในระยะแรก

32. 10-20% : severe disability

33. ไม่ควรให้ Mannitol ในผู้ป่วยที่มี ICP สูงเพราะจะทำให้ treat vasospasm ได้ไม่ดี --> Volume depletion

34. 45% Prognosis ไม่ดี

35. ตำแหน่งที่เลือดออกในสมอง

35.1. eg. เลือดออกที่ Temporal lobe --> MCA

36. Clinical

37. มี Cerebral vasospasm เยอะแค่ไหน

38. เกิด Turbulence flow แล้วทำให้ aneurysm ใหญ่ขึ้น

39. 40% Prognosis ดี

40. Most common vessel : Anterior communicating artery (Anterior circulation)

41. บอกตำแหน่งของ Aneurysm ได้จาก

41.1. Natural History

41.1.1. 40% : independence

41.1.2. Prognosis ของ aSAH

41.1.2.1. 85%

41.1.2.2. 15% Dead before admit

41.1.3. Mortality rate 81% in 3 months

42. About

42.1. 2nd Most common ของ Hemorrhagic stroke

42.1.1. คิดเป็น 5% ของผู้ป่วย Stroke

42.2. เกิดที่หลอดเลือดขนาดใหญ่

42.3. Causes

42.3.1. เกิดบ่อยที่ Bifurcation ของหลอดเลือด เพราะผนังบาง และความดันสูง

42.3.2. Hemodynamic stress & Abnormal vascular defect

42.3.2.1. Degenerative process and/or Genetic factors

42.3.2.1.1. สามารถเกิดได้จาก ภาวะผิดปกติของหลอดเลือดทางพันธุกรรม, Smoking และ Hormone ที่ผิดปกติ

42.4. เกิดบนผนังหลอดเลือดชั้นกลาง (Tunica media) ที่ Internal elastic lamina

43. Ruptured cerebral aneurysms

43.1. RBC > 10,000 cell/ml

44. Cerebral Vasospasm

44.1. เกิดขึ้นใน 3 days - 3 weeks จะ peak ที่ 2 weeks

44.2. จะเกิดขึ้นแค่ใน Subarachnoid hemorrhage ที่เกิดขึ้นจาก Ruptured cerebral aneurysm

44.2.1. ใน Hypertensive ICH ไม่มี vasospasm

44.3. ให้ยา Nimodipine เพื่อเพิ่ม Cerebral circulation ให้เลือดไป supply สมองได้ดีขึ้น

44.3.1. เป็น Calcium channel blocker ที่จะทำให้เกิด vasodilation แล้วเพิ่ม collateral circulation --> ลดการเกิด Vasospasm