การควบคุมคุณภาพ

Plan your lessons and the goals of your lessons as well as including important content

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การควบคุมคุณภาพ by Mind Map: การควบคุมคุณภาพ

1. เมื่อถูกใช้ไปนานๆอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงตามอายุการใช้งาน

2. ความหมายของการควบคุมคุณภาพ

2.1. การควบคุมคุณภาพ

2.1.1. การควบคุมกระบวนการผลิต ตั้งแต่วัตถุดิบ วิธีการ หรือขั้นตอนการผลิต เพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

2.2. กาควบคุมคุณภาพทางสถิติ

2.2.1. การนำหลักการ เทคนิคทางสถิติ เครื่องมือทางสถิติมาประยุกต์ใช้กับการควบคุม

3. ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ

3.1. ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหรือเสียจะออกไปสู่ผู้บริโภคลดลง

3.2. ลดต้นทุนของผลิตภัณฑ์ ทำให้ราคาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดได้

3.3. ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์

4. นางสาว ทิวาวัลย์ อติชาติกุล 5404011636140 IC sec.9

5. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความผันแปร และสาเหตุของความแปรผัน

5.1. วัตถุดิบ

5.1.1. มาจากแหล่งที่ต่างกัน

5.2. เครื่องจักร

5.3. คน

5.3.1. มีความชำนาญงานแตกต่างกัน

5.4. วิธีการทำงาน

5.4.1. ขั้นตอนการทำงานที่แตกต่างกันส่งผลให้งานออกมาไม่เหมือนกัน

6. เครื่องมือสำหรับการควบคุมคุณภาพ

6.1. แผ่นตรวจสอบ

6.1.1. ใช้ในการตรวจสอบเพื่อรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงความถี่ของลจากข้อมูลหลายๆตัว

6.2. แผนภูมิพาเรโต

6.2.1. เป็นแผนภูมิแท่งชนิดหนึ่งที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับความถี่ ใช้สำหรับจัดปัญหาตามลำดับความสำคัญ และตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต

6.3. แผนภูมิเหตุและผล

6.3.1. เป็นเครื่องมือช่วยให้ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา โดยระดมความคิด จัดทำเป็นแผนผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุของปัญหา เพื่อนำไปสู่แนวทางในการแก้ไข แผนภูมิมีลักษณะคล้ายก้างปลา

6.4. แผนภูมิการกระจาย

6.4.1. เป็นแผนภูมิที่แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล2ชุด โดยทั่วไปข้อมูลบนแกนด้านหนึ่ง(แกนX) จะเป็นตัวที่่มีอิทธิพลกับข้อมูลบนแกนอีกด้านหนึ่ง(แกนY) แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในระดับ2มิติ

6.5. กราฟ

6.5.1. ใช้สำหรับวิเคราะห์หรือนำเสนอข้อมูล

6.5.1.1. กราฟแท่ง

6.5.1.2. กราฟเส้น

6.5.1.3. กราฟวงกลม

6.6. ฮิสโตแกรม

6.6.1. เป็นกราฟแท่งชนิดหนึ่งที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าางข้อมูลเป็นหมวดหมู่กับความถี่ของข้อมูลที่เป็นหมวดหมู่นั้น ข้อมูลที่นำมาสร้างฮิสโตแกรมต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ

6.6.2. รูปแบบปกติ

6.6.3. รูปแบบเบ้

6.6.4. รูปแบบสองยอด

6.7. แผนภูมิควบคุมคุณภาพ

6.7.1. เป็นการสร้างกราฟเส้นอย่างง่ายเพื่อใช้วิเคราะห์และตรวจจับความผิดปกติที่ิเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์

6.7.2. แผนภูมิควบคุมเชิงปริมาณ

6.7.3. แผนภูมิควบคุมเชิงลักษณะ