หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม by Mind Map: หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม

1. การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม

1.1. เนื้อหาวรรณคดี

1.2. โครงเรื่อง

1.3. เหตุการณ์ในเรื่อง

1.4. ความรู้ที่ได้จากวรรณคดี

1.5. รูปแบบวรรณคดี

1.6. ฉากของเรื่อง

1.7. ลักษณะนิสัยตัวละคร

1.8. แก่นเรื่อง

2. ความหมายของการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม

2.1. การตัดสินคุณภาพของหนังสือ ว่าดี หรือไม่ดีอย่างไร

3. วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงภูมิปัญญาทางภาษา

3.1. ภาษากับวัฒนธรรม

3.2. ภาษาถิ่น

4. การสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม

4.1. สิ่งที่ได้จากวรรณคดีออกมาเป็นข้อคิด

4.1.1. เช่น เรื่องสามก๊ก เราควรเป็นคนซื่อสัตย์ และกตัญญูให้เหมือนกวนอู

5. การประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม

5.1. คุณค่าด้านเนื้อหา

5.2. คุณค่าด้านวรรณศิลป์

5.3. คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม

6. การวิจารณ์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม

6.1. แนวเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

6.2. เเนวที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตในสังคม

7. แนวทางการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

7.1. บันเทิงคดี

7.1.1. เป็นเรื่องแต่เพื่อความบันเทิง

7.2. สารคดี

7.2.1. แต่งเพื่อให้สาระความรู้

7.3. เนื้อเรื่อง

7.3.1. เป็นเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ

7.4. โครงเรื่อง

7.4.1. เป็นกรอบและแนวทางในการสร้างเรื่อง

7.5. ตัวละคร

7.5.1. เป็นผู้ที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ในเรื่อง

7.6. บทเจรจา

7.6.1. เป็นคำพูดหรือแสดงความรู้สึก

7.7. แก่นเรื่อง

7.7.1. แนวคิด การสื่อความหมายของเรื่อง

7.8. ฉาก

7.8.1. เวลา สถานที่และบรรยากาศ

8. แนวทางการพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม

8.1. ร้อยกรอง

8.1.1. เป็นคำประพันธ์ที่กำหนดตามระเบียบของฉันทลักษณ์

8.2. ร้อยแก้ว

8.2.1. คำประพันธ์ที่ไม่ต้องมีฉันทลักษณ์

9. จุดมุ่งหมายในการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม

9.1. เพื่อสดุดีความกล้าหาญของกษัตริย์

9.2. เพื่อส่งเสริมและทำนุบำรุงศาสนา

9.3. ไป