ขั้นตอนพัฒนาและโครงสร้างภาษาซี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ขั้นตอนพัฒนาและโครงสร้างภาษาซี by Mind Map: ขั้นตอนพัฒนาและโครงสร้างภาษาซี

1. ขั้นตอนการพัฒนา

1.1. 1.การเขียนและแก้ไขโปรแกรม

1.1.1. ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทำการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c

1.2. 2. คอมไพล์โปรแกรม

1.2.1. นำ source code จากขั้นตอนที่ 1 มาทำการคอมไพล์เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้

1.3. 3.การลิงค์โปรแกรม

1.3.1. การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องเขียนคำสั่งต่างๆ ขึ้นใช้งานเอง

1.4. 4.ประมวลผล

1.4.1. เมื่อนำ executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา

2. โครงสร้างภาษาซี

2.1. 1.ส่วนหัวของโปรแกรม(Header File)

2.1.1. ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทำการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม

2.2. 2.ส่วนประกาศตัวแปรส่วนกลาง

2.2.1. ส่วนนี้จะใช้ในการประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชันที่ต้องใช้ในโปรแกรม โดยทุกๆ ส่วนของโปรแกรมสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ประกาศไว้ในส่วนนี้ได้

2.3. 3.ส่วนฟังก์ชันกำหนดเอง

2.3.1. เป็นการเขียนคำสั่งและฟังก์ชันต่างๆ ขึ้นใช้ในโปรแกรม โดยต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และต้องสร้างฟังก์ชันหรือคำใหม่ที่ให้ทำงานที่เราต้องการให้กับโปรแกรม

2.4. 4.ส่วนของฟังก์ชันหลัก

2.4.1. ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี ซึ่งภายในฟังก์ชันหลักจะประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ ที่จะให้โปรแกรมทำงาน ฟังก์ชันนี้เริ่มต้นการทำงานด้วยฟังก์ชัน main()

2.5. 5.ส่วนอธิบายโปรแกรม

2.5.1. คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบาย