1. การทำละเมิด
1.1. ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหาย -ถึงแก่ชีวิต -แก่ร่างกาย -อนามัย -เสรีภาพ -ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างหนึ่ง ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่า สินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
1.2. ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด
1.2.1. 1.ในกรณีไม่ถึงแก่ความตาย 1.1 ค่ารักษาพยาบาล 1.2 ค่าเสีค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิดยหายขาดประโยชน์ทำมาหาได้ (ในปัจจุบันและในอนาคต)
1.2.2. 2.ในกรณีถึงแก่ความตาย 2.1 ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายในวัด ค่าบำเพ็ญกุศลฯ 2.2 ค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย เช่น บิดามารดา บุตร
2. ความสามารถของบุคคล
2.1. 1.ผู้เยาว์ -ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (อายุ 20 ปีบริบูรณ์) -การสมรสชอบโดยกฎหมาย -ผู้ปกครองเป็นคนดูแล
2.2. 2. คนไร้ความสามารถ -คนวิกลจริต -ผู้อนุบาลเป็นคนดูแล
2.3. 3. คนเสมือนไร้ความสามารถ -กายพิการ จิตไม่สมประกอบ ประพฤติตนสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ ติดสุรายาเมา -ผู้พิทักษ์เป็นคนดูแล
3. กฎหมายแพ่งว่าด้วยบุคคล
3.1. แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
3.1.1. 1. บุคคลธรรมดา (Natural Person) -มนุษย์ผู้มีสภาพบุคคล
3.1.2. 2. นิติบุคคล (Juristic Person) -สิ่งที่กฎหมายรับรองให้เป็นสภาพบุคคล
3.2. สภาพบุคคล
3.2.1. **การเริ่มสภาพบุคลล 1. เริ่มแต่เมื่อคลอด 2. อยู่รอดเป็นทารก
3.2.2. **การสิ้นสุดสภาพบุคคล 1. สิ้นสุดลงเมื่อตาย 2. สิ้นสุดลงเมื่อศาลสั่งสาบสูญ -หายไปโดยไม่มีใครรู้ 5 ปี -จากสงคราม 2 ปี
4. นิติกรรม
4.1. นิติกรรมที่กฎหมายกำหนด
4.1.1. 1. การทำพินัยกรรม -การทำพินัยกรรมต้องอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ -คนวิกลจริตทำพินัยกรรมไม่ได้
4.1.2. 2. การสมรส -การสมรสต้องอายุไม่ต่ำกว่า 17 ปีบริบูรณ์ -คนวิกลจริตทำการสมรสไม่ได้
4.2. ประเภทของนิติกรรม
4.2.1. 1. นิติกรรมฝ่ายเดียว -เกิดจากเจตนาของบุคคลฝ่ายเดียว -มีผลตามกฎหมาย
4.2.2. 2. นิติกรรมสองฝ่าย -สัญญาซื้อขาย -สัญญาว่าจ้าง -สัญญากู้ยืมเงิน
4.3. โมฆะกรรม
4.3.1. 1.เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย 2.เป็นการพ้นวิสัย 3.ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน