Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คลื่น by Mind Map: คลื่น

1. องค์ประกอบของคลื่น

1.1. 1. สันคลื่น หรือ ยอดคลื่น (Crest) คือ ส่วนที่นูนหรือสันบนสุดของคลื่นแต่ละลูก 2. ท้องคลื่น (Trough) คือ ส่วนล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก 3. การกระจัด (Displacement) คือ ระยะที่วัดจากแนวกลาง (แนวสมดุล) ไปยังตำแหน่งใดๆ บนคลื่น 4. ช่วงกว้างของคลื่น หรือ แอมพลิจูด (Amplitude ; A) คือ ระยะกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากแนวสมดุลไปยังสันคลื่นหรือท้องคลื่น โดยพลังงานของคลื่น (แอมพลิจูด)2 5. ความยาวคลื่น (Wave length ; ) คือ ความยาวของ 1 คลื่น เป็นระยะทางที่วัดจากเฟสถึงเฟสเดียวกันของคลื่นถัดไป 6. เฟส (Phase) คือ การเรียกตำแหน่งบนคลื่น โดยมีความสัมพันธ์กับการกระจัดของการเคลื่อนที่ของคลื่น

2. เฟสตรงกัน (inphase)

2.1. ขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง พลังงานของคลื่นจะทาให้ตัวกลางสั่นกลับไปกลับมา โดยมีทิศการสั่นและการกระจัดเนื่องจากการสั่นเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (อนุภาคตัวกลางสั่นแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก)

3. เฟสตรงข้าม (out of phase)

3.1. ขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง พลังงานของคลื่นจะทาให้ตัวกลางสั่นกลับไปกลับมา โดยมีทิศการสั่น และการกระจัดเนื่องจากการสั่นเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (อนุภาคตัวกลางสั่นแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก)

4. สูตรที่ใข้ในการคำนวณ

4.1. อัตราเร็ว

4.1.1. V= F( lambda)

4.2. ความถี่

4.2.1. f =1/T

5. การจำแนกคลื่นตามลักษณะของตัวกลาง

5.1. คลื่นกล

5.1.1. คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่สามารถถ่ายทอดและโมเมนตัมโดยอาศัยความยืดหยุ่นของตัวกลาง เช่น คลื่นเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก

5.2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

5.2.1. คลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น แสง คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์

6. การจำแนกคลื่นตามลักษณะการกำเนิดคลื่น

6.1. คลื่นดล

6.1.1. คลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่งลูก เช่น การโยนหินลงไปในน้ำ

6.2. คลื่นต่อเนื่อง

6.2.1. คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดหลายครั้งติดต่อกัน ทำให้เกิด คลื่นหลายลูกติดต่อกัน โดยความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้นเท่ากับความถี่ของการรบกวนของแหล่งกำเนิดคลื่น เช่น คลื่นน้ำที่ เกิดจากการใช้มอเตอร์

7. การจำแนกคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนที่

7.1. คลื่นตามขวาง

7.1.1. เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในตัวกลางแล้วทำให้อนุภาค ในตัวกลางเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศทาง การเคลื่อนที่ของคลื่น

7.2. คลื่นตามยาว

7.2.1. เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในตัวกลางแล้วทำให้อนุภาคในตัวกลางเคลื่อนที่ตามแนวขนานกับ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น

8. สมบัติของคลื่น

8.1. การสะท้อน

8.1.1. คลื่นเปลี่ยนทิศทางโดยการสะท้อนเมื่อตกกระทบพื้นผิว

8.2. การหักเห

8.2.1. คลื่นเปลี่ยนทิศทางเมื่อเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง

8.3. การเลี้ยวเบน

8.3.1. ลื่นเคลื่อนที่ขยายวงออกเรื่อยๆ เช่น ลำคลื่นที่วิ่งผ่านออกจากช่องแคบๆ จะมีลักษณะขยายขนาดลำออก

8.4. การแทรกสอด

8.4.1. เกิดจากการซ้อนทับกันของคลื่น เมื่อวิ่งมาตัดกัน

9. พาทิศ พาณิชย์เจริญใจ ม.5/5 เลขที่ 20