ดาวฤกษ์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ดาวฤกษ์ by Mind Map: ดาวฤกษ์

1. สีและอุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์

1.1. อุณหภููมิพื้นผิว

1.1.1. อุณหภูมิต่ำ

1.1.1.1. สีค่อนข้างแดง

1.1.2. อุณหภูมิสูง

1.1.2.1. สีน้ำเงินอมขาวหรือสีน้ำเงิน

1.2. ชนิดสเปกตรัม

1.2.1. แบ่งได้ 7 กลุ่ม

1.2.1.1. O

1.2.1.1.1. สีน้ำเงิน อุณหภูมิมากกว่า 30,000 เคลวิน

1.2.1.2. B

1.2.1.2.1. สีน้ำเงินแกมขาว อุณหภูมิ 10,000-30,000 เคลวิน

1.2.1.3. A

1.2.1.3.1. สีขาว อุณหภูมิ 7,500-10,000 เคลวิน

1.2.1.4. F

1.2.1.4.1. สีขาวแกมเหลือง อุณหภูมิ 6,000-7,500 เคลวิน

1.2.1.5. G

1.2.1.5.1. สีเหลือง อุณหภูมิ 4,900-6,000 เคลวิน

1.2.1.6. K

1.2.1.6.1. สีส้ม อุณหภูมิ 3,500-4,900 เคลวิน

1.2.1.7. M

1.2.1.7.1. สีแดง อุณหภูมิ 2,500-3,500 เคลวิน

2. ความสว่างของดาวฤกษ์

2.1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสว่าง

2.1.1. กำลังส่องสว่าง

2.1.2. ระยะทางของดาวฤกษ์ถึงผู้สังเกต

2.2. โชติมาตร

2.2.1. หรืออันดับความสว่าง

2.2.2. ค่าที่ใช้เปรียบเทียบความส่องสว่างของดวงดาว

2.2.3. ไม่มีหน่วย

2.2.4. ดาวฤกษ์ที่มีความสว่างมากกว่าจะมีค่าโชติมาตรน้อยกว่าดาวฤกษ์ที่มีความสว่างน้อย

2.3. โชติมาตรปรากฏ

2.3.1. ความสว่างที่เห็นจากโลก

2.3.2. บอกได้เป็นตัวเลขไม่มีหน่วย

2.3.2.1. เรียกว่าแมกนิจูด

2.4. โชติมาตรสมสัมบูรณ์

2.4.1. เปรียบเทียบความส่องสว่างดาวฤกษ์ที่ระยะห่างจากโลกเท่ากันคือ 10 พาร์เซกหรือ 32.6 ปีแสง

3. จุดจบดาวฤกษ์

3.1. ดาวแคระขาว

3.1.1. ขนาดเท่าดวงอาทิตย์

3.1.1.1. ปลดปล่อยพลังงานความร้อนและพลังงานแสง

3.1.2. เปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม

3.2. ดาวนิวตรอน

3.2.1. เป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่

3.2.1.1. ปลดปล่อยความร้อนออกสู่ภายนอก

3.2.1.2. เมื่อไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมจนหมด

3.2.1.3. โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมตัวกัน

3.2.1.4. ปลดปล่อยพลังงานระเบิดอย่างรุนแรง

3.2.1.5. เรียกซุปเปอร์โนวา

3.2.1.6. หลังระเบิดรวมตัวกันอย่างหนาแน่น

3.3. หลุมดำ

3.3.1. มวลสารปริมาณมากยุบตัวอัดแน่น

3.3.2. ระเบิดเป็นซุปเปอร์โนวา

3.3.3. แกนกลางมีมวลเหลือยุบเป็นดาวดับความหนาแน่นมหาศาล

3.3.4. ดูดทุกสิ่งทุกอย่างเข้าไปภายในโดยไม่สามารถออกมาได้

4. กำเนิดดาวฤกษ์

4.1. เกิดจากกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่

4.1.1. คือเนบิวลา

4.2. กลุ่มแก๊สยุบตัวเป็นแผ่นจาน

4.2.1. เกิดจากแรงโน้มถ่วงศูนย์กลางแก๊ส

4.3. อุณหภูมิถึง 100,000 เคลวิน

4.3.1. กลุ่มสสารในช่วงนี้จะเรียกว่า ดาวฤกษ์ก่อนเกิด

4.4. ดาวฤกษ์ก่อเกิดยุบตัว

4.4.1. เกิดปฎิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์

4.4.1.1. นิวเคลียสของ H กลายเป็นนิวเคลียสของ He

4.4.2. ดาวฤกษ์ก่อเกิดกลายเป็นดาวฤกษ์

4.4.2.1. ดาวฤกษ์มีมวลต่างกันขึ้นอยู่กับมวลของดาวฤกษ์ก่อเกิด

4.5. เกิดดาวฤกษ์

4.5.1. สมดุลอุทกสถิต

4.5.1.1. สมดุลระหว่างแรงดันกับแรงดึงดูด

5. วิวัฒนาการดาวฤกษ์

5.1. การสิ้นสุดของดาวฤกษ์ใกล้เคียงดวงอาทิตย์

5.1.1. มีมวลตั้งต้นตั้งแต่ 0.08 ถึงน้อยกว่า 9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์

5.1.1.1. เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์

5.1.1.1.1. หลอม He เป็น C และ O

5.1.1.1.2. อุณหภูมิลดต่ำลง

5.1.1.2. เมื่อปฏิกิริยาหลอม He สิ้นสุด

5.1.1.2.1. แก่นของดาวยักษ์แดงยุบตัวลงกลายเป็นดาวแคระขาว

5.1.1.2.2. ส่วนอื่นๆที่อยู่รอบแก่นไม่ยุบตัวแต่กระจายตัวออกสู่อวกาศ

5.2. การสิ้นสุดของดาวฤกษ์ขนาดใหญ่

5.2.1. เรียกว่า ดาวยักษ์และดาวยักษ์ใหญ่

5.2.2. มีมวลตั้งต้นตั้งแต่ 9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ขึ้นไป

5.2.2.1. เมื่อดาวฤกษ์อายุมาก

5.2.2.1.1. เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์

5.2.2.2. หลังเกิดซุปเปอร์โนวา

5.2.2.2.1. แก่นดาวยุบตัวลง

5.2.2.2.2. อาจกลายเป็นดาวดับความหนาแน่นมหาศาล

5.3. ดาวแคระน้ำตาล

5.3.1. มีมวลตั้งต้นน้อยกว่า 0.08 เท่าของมวลดวงอาทิตย์

5.3.2. จะมีมวลตั้งต้นไม่พอ จึงไม่สามารถเกิดดาวฤกษ์ได้