พยาธิสรีรวิทยาระบบประสาท ใบงานที่ 2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พยาธิสรีรวิทยาระบบประสาท ใบงานที่ 2 by Mind Map: พยาธิสรีรวิทยาระบบประสาท ใบงานที่ 2

1. G4 โรคเนื้องอกในสมอง

1.1. เนื้อที่เกิดจากการเจริญเติบโตอย่างผิดปกติของเซลล์ใน สมองทําให้มีอาการต่างๆ

1.2. เป็นก้อนขยายตัวได้ในกะโหลกศีรษะทําให้เกิดการสูญเสียหน้าทีของสมองตามตําแหน่งเนื้องอกเมื่อก้อนมีขนาดใหญ่จะทําให้ความดันในช่องกะโหลกศีรษสูงขึ้น

1.3. สาเหตุ อายุ สิ่งแวดล้อม การที่สมองได้รับบาดเจ็บ ประวัติคนในครอบครัว

1.4. อาการ ปวดศีรษะบ่อย คลื่นไส้อาเจียน ภาพเบลอ มีปัญหาในการพูด การทรงตัวการเคลื่อนไหว

1.5. การวินิจฉัย การซักประวัติอาการและการตรวจร่างกาย การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการ การถ่ายภาพสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)

1.6. การรักษา การผ่าตัด การฉ่ายแสง การใช้เคมีบำบัด

1.7. การพยาบาล

1.7.1. ก่อนการผ่าตัด

1.7.1.1. ดูแลทำความสะอาด โกนผม เตรียมผลการตรวจโรค ผลตรวจทางรังสีวิิทยา และงดน้ำงดอาหาร

1.7.2. หลังการผ่าตัด

1.7.2.1. เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด

2. G5 โรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ

2.1. เกิดจากเชื้อไวรัสเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา บริเวณเยื่อหุ้มที่หุ้มรอบสมองและไขสันหลัง

2.2. สาเหตุ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย การรับประทานอาหารกึ่งสุกกึ่งดิบ ติดเชื้อวัณโรคและเชื้อรา

2.3. อาการ มีไข้สูง ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดต้นคอท้ายทอย ปวดกระบอกตา

2.4. การวินิจฉัย การเก็บตัวอย่างโรค การถ่ายภาพด้วย CT scans (Computerized Tomography) หรือ MRI (Magnetic Resonance Imaging) การเจาะน้ำไขสันนหลัง

2.5. การรักษา การจะเลือกใช้ยาปฏิชีวนะใดๆก็ขึ้นอยู่กับชนิดของ แบคทีเรียทีทําให้เกิดการติดเชื้อ อาจสั่งจ่ายยาคอร์ติสเตียรอยด์

3. G4 ฝีในสมอง

3.1. ภาวะติดเชื้อที่สามารถเกิดขึ้นได้จากเชื้อรา หรือเชื้อแบคทีเรีย ทําให้เกิดอาการอักเสบที่สมอง

3.2. เชื้อจะเข้าทางกะโหลกทีแตกเชื้อจะเข้าสู่สมองทางโพรงอากาศและกระดูกพรุนอักเสบทําให้หลอดเลือดดําอักเสบ (pial vein และ dural sinus ) ทําให้เนื้อสมองขาดเลือด และตาย

3.3. สาเหตุการติดเชื้อของเหงือก และฟันที่เกิดจากฟันผุ กะโหลกศีรษะแตกจากการบาดเจ็บทีศีรษะหรือเกิดตามหลังการผ่าตัด

3.4. อาการ ปวดหัวรุนแรง มีไข้สูง ตาพล่ามัว เสียการทรงตัว อ่อนแรง มีอาการชัก

3.5. การวินิจฉัย ตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง

3.6. การรักษา ตัดควรได้รับ การผ่าตัด แล้วให้ยาปฏิชีวนะร่วมหลังผ่าตัด

4. G5 โรคไข้สมองอักเสบ

4.1. พาหะนําโรคเป็นยุง

4.2. ติดต่อกันได้จากสัตว์สู่คน

4.3. อาการ ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะ คลื่นไส้ เซื่องซึม อาจมีอาการชัก

4.4. การวินิจฉัย ตรวจแยกเชื้อไวรัสเจอีจากเลือดหรือน้ำไขสันหลัง ตรวจหาแอนติบอดีจําเพาะชนิด IgM

4.5. การรักษา รักษาตามอาการของผู้ป่วยเพื่อบรรเทาความรุนแรงเท่านั้น เนื่องจากโรคนี้ไม่มียารักษา ใช้ยาต้านไวรัส ฉีดสเตียรอยด์ ฟอกเลือด

5. G1 ภาวะหมดสติ

5.1. ภาวะที่ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสิ่งรอบข้าง

5.2. สาเหตุ มีการทำลายเนื้อเยื่อสมองโดยตรง ความผิดปกติในการเผาผลาญ

5.3. พยาธิสภาพ เกิดขึ้นในสมองโดยตรงมีการขยายตัวทำให้เกิดเนื้อสมองบวม

5.4. อาการ เกิดขึ้นขณะยืน วิงเวียนศีรษะ ตาพล่า คลื่นไส้ หน้าซีด

5.5. การวินิจฉัย ประเมินอาการเบื้องต้น และให้การช่วยเหลือ

5.6. การรักษา พิจารณาแนวทางขึ้นอยู่กับหลายปัจัย

5.6.1. อาการของผู้ป่วย

5.6.2. ระดับความรู้สึกตัว

5.6.3. สัญญารชีพ

5.6.4. สาเหตุที่ทำให้หมดสติ

5.7. การพยาบาล นอนศีรษะต่ำ ปลดเสื้อเข็มขัดให้หลวม ใช้ผ้าเย็นๆเช็ดคอแขนขา เมื่อผู้ป่วยฟื้น ห้ามให้ลงทันที

6. G2 การบาดเจ็บที่ศีรษะ

6.1. การบาดเจ็บที่เกิดจากแรงที่เข้า มากระทบต่อศีรษะและร่างกาย

6.2. สาเหตุ อุบัติเหตุจราจร มีวัตถุหล่นจากที่สูงลงมากระแทกศีรษะ การหกล้ม

6.3. พยาธิสภาพ เกิดขึ้นจากการมี แรงกระแทกที่ศีรษะทันทีหรือเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังการบาดเจ็บ

6.4. อาการ ศีรษะโน เป็นแผลถลอก ฟกช้ำที่หนังศีรษะ อาจทำให้กะโหลกศีรษะร้าว อาจมีอาการปวดศีรษะ ลับสน เพ้อ เอะอะ คลื่นไส้ อาเจียน

6.5. การวินัจฉัย ตรวจเอกชเรย์คอมพิวเตอร์สมอง ตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็ก

6.6. การรักษา หากมีเลือดออกในสมองมักจะต้องรักษาโดยการผ่าตัด ก่อนผ่าตัดจะต้องโกนและทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือเพื่อขจัดเอาเนื้อเยื่อตายออก

6.7. การพยาบาล ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ จัดท่าให้นอนศีรษะสูง สังเกตอาการของภาวะความดันในสมองสูง

7. G3 โรคหลอดเลือดสมอง

7.1. เกิดจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ

7.2. อาการอ่อนแรง ชา มีปํญหาเกี่ยวกับพูด มีปัญหาการทรงตัว สูญเสียการมองเห็นบางส่วน

7.3. ความผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง

7.3.1. โรคหลอดเลือดสมองชนิดสมองขาดเลือด (Ischemic Stroke)

7.3.2. โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke)

7.3.3. โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากการอุดตัน (Embolic Stroke)

7.4. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง

7.4.1. ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้

7.4.1.1. อายุ

7.4.1.2. เพศ

7.4.1.3. ประวัติครอบครัว

7.4.2. ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้

7.4.2.1. ความดันโลหิตสูง

7.4.2.2. เบาหวาน

7.4.2.3. ไขมันในเลือดสูง

7.4.2.4. การสูบบุหรี่

7.5. การวินิจฉัย การซักประวัติ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางสมอง

7.6. การรักษา

7.6.1. ประเมินคัดแยกอาการโรคหลอดเลือดสมองอย่างทันที

7.6.2. ซักประวัติตรวจร่างกาย

7.6.3. ประเมินอาการทางระบบประสาท

7.6.4. การเจาะเลือดตรวจคลื่นไฟฟ้า หัวใจ เอกซเรย์คอมพวิเตอร์สมอง (CT Scan)

7.6.5. อธิบายให้ผู้ป่วยหรือญาติ ให้การรัก ษาด้วยการใช้ยาละลายลิ่มเลือด (rTPA)

7.6.6. Mechanical Thrombectomy การนำเอาลิ่มเลือดทที่อุดตันในหลอดเลือดสมองออกผ่านทางสายสวน

7.7. การป้องกันโรคหลอดดเลือดสมอง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก งดสูบบุหรี่ ควบุมน้ำตาล ความดัน