ผลของการตั้งครรภของ มารดาอายุมาก elderly + pregnancy (1)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ผลของการตั้งครรภของ มารดาอายุมาก elderly + pregnancy (1) by Mind Map: ผลของการตั้งครรภของ มารดาอายุมาก elderly + pregnancy (1)

1. กลุ่ม​ตัวอย่าง​

1.1. มารดาอายุตั้งแต่ 20-40ปี แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ

1.2. กลุ่ม 1 คือ มารดาอายุ 35-39 ปี เมื่อคลอดมี จํานวน 597 ราย

1.3. กลุ่ม 2 คือ มารดาอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไปเมื่อคลอ ดมีจํานวน 96 ราย

1.4. กลุ่ม 3 คือ มารดาอายุ 20-29 ปีเมื่อคลอดมีจํานวน 2,404 ราย

1.5. ทําการศึกษาย้อนหลังจากรายงานของ มารดาซึ่ง คลอดบุตรที่โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่

2. วิจารณ์​

2.1. ในการศึกษานี้พบว่า มารดาอายุ 35-39 ปี และ มารดาอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป เกิด ภาวะแทรกซ้อน ระหว่างตั้งครรภ์มากกว่ามารดากลุ่มควบคุม คือ ภาวะครรภ์เป็นพิษ เบาหวาน รกเกาะต่ำ การวินิจฉัย ก่อนคลอดโดย การเจาะถุงน้ำ คร่ำ การผ่าท้องคลอดระยะเวลาการคลอดรกนานผิดปกติ

3. วัตถุ​ประสงค์​

3.1. เพื่อเปรียบเทียบผลของการตั้งครรภ์ของมารดา อายุมาก 2 กลุ่ม คือ อายุ 35-39 ปี และอายุ 40 ปีขึ้น ไป กับมารดากลุ่มควบคุมอายุ 20-29 ปี

4. ผู้แต่ง

4.1. ชัยรัตน์ คุณาวิกติกุล, พ.บ.สุกัญญา ยะนันโต วท.ม. ภาควิชาสูติศาสตร์ และนรีเวชวิทยาคณะ แพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

5. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย​

5.1. ใช้Chi square หรือ Fisher’s exact test

6. ข้อเสนอแนะ

6.1. 1.ใช้เปรียบเทียบผลของการตั้งครรภ์ ระหว่าง มารดาครรภ์แรกอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป กับมารดา อายุ 20-25 ปี ที่ไม่พบความแตกต่าง ในเรื่องของ ภาวะครรภ์เป็นพิษ 2.อายุครรภ์เมื่อ คลอด การคลอดโดยใช้เครื่องมือ การเพิ่มของ อัตราผ่าท้องทำ คลอด และจำ นวน ทารกพิการ แต่กำ เนิด​

7. วิธีการ​

7.1. 1.ศึกษาข้อมูลย้อนหลังของมารดาอายุตั้งแต่ 20- 40ปี ตั้งแต่วันที่ 1มกราคม พ.ศ. 2540 ถึงวันที่31 ธันวาคม พ.ศ.2540

7.2. 2.เปรียบเทียบข้อมูลของหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตร ที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

7.3. 3.หาความแตกต่างระหว่างมมารดาอายุ ตั้งแต่ 20- 40ปี และคิดเป็นร้อยละ

8. ผลการศึกษา​

8.1. จากการศึกษาพบว่าควรจะให้ความสำ คัญมากขึ้น ในเรื่องเกี่ยวกับเรื่องครรภ์เป็นพิษ เบาหวาน คลอด ก่อนอายุครรภ์ 38 สัปดาห์ ถุงน้ำ คร่ำ แตกก่อน กำ หนดและ ทารกพิการแต่กำ เนิดในมารดาที่ มีอายุ40ปีขึ้นไป

9. ทฤษฎี​/กรอบแนวคิด

9.1. ผู้ทำ การศึกษาวิจัยได้เล็งเห็น ปัญหาของการตั้ง ครรภ์ในมารดาอายุมากแต่ยัง ขาดข้อมูลที่จะชี้ชัด ถึงขอบเขตของปัญหา การศึกษาถึงสภาพความ เป็นจริงของกลุ่ม มารดาอายุมาก คือ อายุ 35-39 ปี และกลุ่ม มารดาอายุมากขึ้นไปอีก คือ ตั้งแต่ 40 ปี ขึ้นไป เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมคือ มารดาอายุ 20- 29 ปีจึงเป็นสิ่งจำ เป็นเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน และ แนวทางในการป้องกันและแก้ปัญหาที่ อาจจะเกิด ขึ้นต่อไป