HUMAN RELATIONS บทที่ 5 พื้นฐานทางสังคม

Create a Market Plan for introducing a new product or brand

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
HUMAN RELATIONS บทที่ 5 พื้นฐานทางสังคม by Mind Map: HUMAN RELATIONS บทที่ 5 พื้นฐานทางสังคม

1. ความหมายของสังคม

1.1. คนทุกเพศทุกวัยที่มาอยู่รวมกัน โดยมีอาณาบริเวณ ที่แน่นอน ในระยะเวลาที่ยาวนานและต่อเนื่อง

2. ประเภทของสังคม

2.1. แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิก

2.1.1. 1.สังคมแบบปฐมภูมิ

2.1.1.1. สมาชิกมีความเป็นอยู่อย่างง่าย

2.1.1.2. ทำการเกษตร จับปลา ล่าสัตว์

2.1.1.3. อยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน

2.1.1.4. สมาชิกรู้จักกันอย่างทั่วถึง

2.1.1.5. มีความสัมพันธ์แบบพี่น้อง

2.1.2. 2.สังคมแบบทุติยภูมิ

2.1.2.1. เป็นสังคมแบบชาวเมือง

2.1.2.2. สมาชิกประกอบอาชีพแตกต่างกันตามความสามารถ

2.2. แบ่งตามลักษณะการดำรงชีพ

2.2.1. 1.สังคมล่าสัตว์และเก็บอาหาร

2.2.2. 2.สังคมเลี้ยงสัตว์

2.2.3. 3.สังคมพืชสวน

2.2.4. 4.สังคมกสิกรรม

2.2.5. 5.สังคมอุตสาหกรรม

3. หน้าที่ของสังคม

3.1. การผลิตสินค้าและการกระจายสินค้าและบริการต่างๆ

3.1.1. Positioning & Messaging

3.1.1.1. What is the key messaging and positioning for the service offer? (Pain, alternatives, solution)

3.1.1.2. How do we communicate internally?

3.1.1.3. How do we communicate externally?

3.1.2. Promotion Strategy

3.1.2.1. Marketing Programs (Installed base versus new prospects)

3.1.2.2. Advertising (Publications, etc.)

3.1.2.3. Analyst Relations (Target Analysts)

3.1.2.4. Public Relations

3.1.2.5. Events (Trade shows, SEO/SEA, Seminars)

3.1.2.6. Webinars

3.1.3. Demand Generation & Lead Qualification

3.1.3.1. How do we generate and qualify new leads for the target offer?

3.1.3.2. Prospect Lists

3.1.3.3. Key Questions to Ask

3.1.3.4. Sales Collateral

3.1.3.5. Presentations

3.1.3.6. Data Sheets

3.1.3.7. White Papers

3.1.3.8. ROI Tools

3.1.3.9. Other Sales Tools (web site, etc.)

3.2. การสร้างความรู้สึกมั่นคงทางจิตใจของสมาชิก

3.3. การให้การศึกษาอบรมและการถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมแก่สมาชิกในสังคม

3.4. การสร้างและรักษาระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม

3.4.1. M&A?

3.4.2. Risk Analysis & Mitigation

3.5. การผลิตสมาชิกใหม่ของสังคม

3.5.1. Numbers, budget, waterfall, break-even (cost>leads>trials>deals)

3.5.2. Sales Programs

3.5.3. Accelerated Learning Strategy, Controls, Metrics

3.5.4. Include feedback loops

3.5.5. Include financial metrics (definition of success)

3.5.6. Pipeline reports, etc…

4. วัฒนธรรม

4.1. ความหมายของวัฒนธรรม

4.1.1. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นผลรวมของแบบแผนในกาดำรงชีวิต ซึ่งต้องมีในทุกๆ สังคม โดยเกิดจากการเรียนรู้ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมและสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น

4.2. ประเภทของวัฒนธรรม

4.2.1. แบ่งแบบทั่วไป

4.2.1.1. วัฒนธรรมทางวัตถุ

4.2.1.2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ

4.2.2. แบ่งโดยสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ

4.2.2.1. คติธรรม

4.2.2.1.1. วัฒนธรรมเกี่ยวกับจิตใจ

4.2.2.2. เนติธรรม

4.2.2.2.1. วัฒนธรรมเกี่ยวกับกฎหมายและประเพณีอันดีงาม

4.2.2.3. สหธรรม

4.2.2.3.1. วัฒนธรรมทางสังคม

4.2.2.4. วัตถุธรรม

4.2.2.4.1. วัฒนธรรมทางวัตถุที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาเพื่อการดำรงชีวิต

4.3. ลักษณะของวัฒนธรรม

4.3.1. เป็นสิ่งที่ได้มาโดยการเรียนรู้

4.3.2. เป็นมรดกทางสังคม

4.3.3. เป็นวิถีชีวิตหรือแบบของการดำรงชีวิต

4.3.4. เป็นสิ่งไม่คงที่

4.4. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

4.4.1. การมีพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ

4.4.2. การมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

4.4.3. อักษรไทยและภาษาไทย

4.4.4. ประเพณีไทย

4.4.5. วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต

4.4.5.1. เครื่องนุ่งห่ม

4.4.5.2. ที่อยู่อาศัย

4.4.5.3. อาหาร

4.4.5.4. ยารักษาโรค

4.4.6. ศิลปกรรมของไทย

4.4.6.1. วรรณคดี

4.4.6.2. ดนตรี

4.4.6.3. จิตรกรรม

4.4.6.4. ประติมากรรม

4.4.6.5. สถาปัตยกรรม

4.4.7. จรรยามารยาทและจิตใจของคนไทย

4.4.8. การพักผ่อนหย่อนใจของคนไทย

4.5. อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อสังคม

4.5.1. กำหนดรูปแบบสถาบันครอบครัว

4.5.2. กำหนดแบบแผนความประพฤติ

4.5.3. ควบคุมสังคม

4.5.4. สร้างความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม

4.5.5. กำนดรูปแบบของที่อยู่อาศัย

4.5.6. กำหนดชนิดของอาหารที่รับประทาน

4.5.7. เป็นเครื่องแสดงเกลักษณ์ของชาติ

4.6. ปัญหาทางวัฒนธรรม

4.6.1. ความล้าหลังทางวัฒนธรรม

4.6.2. การตื่นตระหนกทางวัฒนะธรรม

4.6.3. การมีอคติต่อวัฒนธรรมของสังคมอื่น

4.6.4. ช่องว่างทางวัฒนธรรม

5. ค่านิยม

5.1. ชนิดของค่านิยม

5.1.1. ค่านิยมทางวัตถุ

5.1.2. ค่านิยมทางสังคม

5.1.3. ค่านิยมทางความจริง

5.1.4. ค่านิยมทางจริยธรรม

5.1.5. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ

5.1.6. ค่านิยมทางศาสนา

5.2. ค่านิยมที่ควรยึดถือปฏิบัติ

5.2.1. การพึ่งตนเอง การขยันหมั่นเพียยรและมีความรับผิดชอบ

5.2.2. การประหยัดและการออม

5.2.3. การมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมาย

5.2.4. การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา

5.2.5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

6. การจัดระเบียบทางสังคม

6.1. บรรทัดฐาน

6.1.1. ประเภทของบรรทัดฐาน

6.1.1.1. วิถีประชา

6.1.1.1.1. แนวทางในการดำเนินชีวิตประจำวัน

6.1.1.2. จารีต

6.1.1.2.1. บรรทัดฐานที่สำคัญของคนในสังคม

6.1.1.2.2. กฎของสังคมที่กำหนดว่าการกระทำใดถูกหรือผิด

6.1.1.2.3. กฎเกณฑ์และข้อห้ามที่มีความสำคัญต่อการดำรงอยู่ของสังคม

6.1.1.3. กฎหมาย

6.1.1.3.1. ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ขียนไว้เพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนอย่างเป็นทางการ

6.1.1.3.2. มีองค์กรของรัฐเฉพาะหน้าที่คอยบังคับควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตาม เรียกว่า กระบวนการยุติธรรม

6.1.1.3.3. หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกจับมาลงโทษตามที่กำหนดไว้

6.1.2. บรรทัดฐานประเภทอื่นๆ

6.1.2.1. สมัยนิยม

6.1.2.2. ความนิยมชั่วครู่

6.1.2.3. ความคลั่งไคล้

6.1.2.4. พิธีการ

6.1.2.5. พิธีกรรม

6.1.3. บรรทัดฐานกับการควบคุมทางสังคม

6.2. สถานภาพ

6.2.1. ประเภทของสถานภาพ

6.2.1.1. สถานภาพได้มาโดยกำเนิด

6.2.1.2. สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถของบุคคล

6.2.2. ลักษณะทั่วไปของสถานภาพ

6.2.2.1. แต่ละบุคคลมีสถานภาพได้หลายสถานภาพ

6.2.2.2. แต่ละบุคคลมีสถานภาพหลัก

6.2.2.3. สถานภาพมีระดับสูงต่ำ

6.2.2.4. สถานภาพบางอย่างขัดแย้งกันได้

6.2.2.5. สภานภาพอาจแสดงได้ด้วยสัญลักษณ์

6.3. บทบาท

6.3.1. ลักษณะทั่วไปของบทบาท

6.3.1.1. บทบาทหลายบทบาทจะอยู่ในบุคคลเดียวกัน

6.3.1.2. บทบาทจะเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของสังคม

6.3.1.3. บทบาทอาจขัดแย้งกันได้

6.3.2. ปัญหาเกี่ยวกับบทบาท

6.3.2.1. เกิดจากแต่ละบุคคลมีตำแหน่งต่างๆ มากมาย

6.3.2.2. แต่ละคนไม่สามารถแสดงบทบาทได้ดีทุกบทบาทเพราะขาดเงินทอง เวลา และอื่นๆ

6.3.2.3. แนวทางแก้ไขปัญหานี้เรียกว่า บทบาทต่อรอง คือ การแสดงบทบาทหนึ่งให้ดีที่สุด